Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง, image, image, image, อ้างอิงจาก https…
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง
ปัญหาเกี่ยวกับการควบคุมอุณหภูมิ
ภาวะอุณหภูมิร่างกายต่ำ
การวินิจฉัย
อุณหภูมิแกนกลาง <36.5องศา
อาการและอาการแสดง
ใบหน้าแดงผิวหนังเย็น
เขียวคล้ำ
หยุดหายใจ
หายใจลำบาก
ปลายมือปลายเท้าเย็น
ภาวะแทรกซ้อน
น้ำตาลในเลือดต่ำ
ภาวะเลือดเป็นกรด
ความต้องการออกซิเจนเพิ่มขึ้น
น้ำหนักไม่ขึ้น
ท้องอืด
เลือดออกใน โพรงสมอง เลือดออกในปอด
ไตวาย
การวัดอุณหภูมิทารก
ทางทวารหนัก
เกิดก่อนกำหนด วัด3นาที ลึก2.5cm
ครบกำหนด 3นาทีลึก3cm
ทางรักแร้
ก่อนกำหนด5นาที
ครบกำหนด8นาที
การดูแล
จัดให้อยู่ในที่อุณภูมิเหมาะสม (NTE) 32 - 34 องศาเซลเซียส
วัดอุณภูมิเด็ก Body temperature เด็ก 36.8-37.2 องศาเซลเซียส
ใช้ warmer, incubator หรือผ้าห่มห่อตัว
หลีกเลี่ยงอยู่ใกล้แอร์ พัดลม ระวัง “Cold stress”
การพยาบาล
ไม่เปิดตู้อบโดยไมจำเป็น ให้พยาบาลสอดมือเข้าไปแทน
ป้องกันการสูญเสียความร้อน 4ทาง
ตรวจสอบอุณหภูมิทารกทุก4ชม.
เช็ดทำความสะอาดตู้ทุกวัน
การควบคุมอุณหภูมิทารกที่อยู่ใน Incubator
กรณีทารกอยู่ในตู้อบปรับอุณหภูมิด้วยมือ
ปรับอุณหภูมิตู้อบเริ่มที่36องศาเซลเซียส
ปรับอุณหภูมิตู้อบเพิ่มขึ นครั งละ 0.2องศาเซลเซียส ทุก 15 – 30 นาที
กรณีไม่ได้ใช้ตู้อบผนัง2 ชั้น
ถ้าวัดอุณหภูมิกายได้36.8-37.2องศาเซลเซียสเป็นเวลา2ครั้งติดกันให้ปรับอุณหภูมิตู้อบตามNTE
ควรใส่ปรอทสำหรับวัดอุณหภูมิตู้อบ
กรณีทารกอยู่ในตู้อบปรับอุณหภูมิอัตโนมัติ Skin Servocontrol mode
ติด Skin probe บริเวณหน้าท้อง
ปรับอุณหภูมิตู้อบเริ่มที่36.5องศาเซลเซียส
ปรับอุณหภูมิตู้อบเพิ่มขึ นครั้งละ 0.1องศา ทุก 15 -30 นาที
ปัญหาทางระบบทางเดินหายใจและพิษออกซิเจน
Respiratory Distress Syndrome
คือ
ภาวะหายใจลำบากเนื่องจากขาดสารลดแรงตึงผิว
อาการและอาการแสดง
หายใจเร็วกว่า60ครั้ง/นาที ปีกจมูกบาน
อาการเขียว
ground glass appearance
ภาวะเลือดเป็นกรด
อาจเกิดการทางเดินหายใจล้มเหลวภายใน24ชม.
การป้องกัน
มารดาที่เสี่ยงคลอดก่อนกำหนดต้องได้antenatal corticosteroids อย่างน้อย 24ชม.ก่อนคลอด
การป้องกันไม่ให้ทารกขาดออกซิเจนในระยะแรกเกิด ซึ่งจะทำให้เลือดเป็นกรด
การรักษา
การให้ออกซิเจน
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ให้สารลดแรงตึงผิว
รักษาแบบประคับประคอง
ให้ได้รับสารน้ำเพียงพอ
รักษาสมดุลอิเล็กโทรไลต์
รักษาฮีโมโกลบิน
ให้ยาปฎิชีวนะ
ทารกอาจปิดด้วยPDA
apnea of prematurity
หยุดหายใจนานกว่า 20 วินาที มี cyanosis
แบ่งเป็น
central apnea ไม่มีการเคลื่อนไหวทรวงอก
obstruction apnea มีการเคลื่อนไหวทรวงอก
การดูแลระบบทางเดินหายใจ
จัดท่านอนศีรษะสูง เงยคอเล็กน้อย
สังเกตอาการขาดออกซิเจน
suction เมื่อจำเป็น
ระวังการสำลัก
ให้การพยาบาลขณะใช้เครื่องช่วยหายใจ
ปัญหาการติดเชื้อ
การพยาบาล
NPO
ห้ามวัดปรอททางก้น
แยกเด็กติดเชื้อ
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะ
ให้การพยาบาลโดยยึดหลักaseptic technique
เฝ้าระวังการติดเชื้อ
ปัญหาระบบหัวใจ,เลือด
รักษา PDA โดยใช้ยา Indomethacin
ขนาดที่ให้ 0.1-0.2 มก./กก.ทุก 8 ชม. X 3 ครั้ง
ข้อห้าม
BUN > 30 mg/dl , Cr > 1.8 mg/dl
Plt. < 60,000 /mm3
urine < 0.5 cc/Kg/hr นานกว่า 8 hr
มีภาวะ NEC
รักษา PDA โดยใช้ยา ibuprofen
ให้ทุก 12-24 ชั่วโมง จำนวน 3-4 ครั้ง
ได้ผลดีในทารกน้ำหนักตัว 500-1500 กรัม อายุครรภ์น้อยกว่า 32 สัปดาห์
ภาวะแทรกซ้อน NEC ไตวาย
ปัญหาเลือดออกในช่องสมอง
Hydrocephalus
เป็นภาวะที่มีน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลังในโพรงสมองมากเกินไป ทำให้โพรงสมองมีขนาดใหญ่
IVH
ภาวะที่มีเลือดออกในกะโหลกศีรษะ ในเนื้อสมองส่วนที่เป็นโพรงสมอง
ปัญหาทางโภชนาการและการดูดกลืน
การพยาบาล
ให้อาหารอย่างเหมาะสมกับสภาพของทารก
OG ในเด็กที่ดูดกลืนไม่ดี เหนื่อยง่าย
IVFตามแผนการรักษา
ระวังอาการท้องอืด
ประเมินการเจริญเติบโต ชั่งน้ำหนักทุกวัน(เพิ่มวันละ15-30กรัม)
ปัญหาพัฒนาการล่าช้า
การพยาบาลทารกคลอดก่อนกำหนด
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกายให้อยู่ในระดับปกติ
การพยาบาล
จัดให้อยู่ในที่ที่อบอุ่น มีการใช้พลังงานน้อยที่สุด
ป้องกันการสูญเสียความร้อน
ประเมินอุณหภูมิร่างกายตามอาการทารก
การดูแลด้านการหายใจให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
การพยาบาล
ประเมินการหายใจ อัตรา การใช้แรง retraction
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
ถ้ามีการกลั้นหายใจ ให้กระตุ้นให้หายใจ
ดูแลให้ได้ยาTheophylline
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน
ดูแลให้ความอบอุ่น
ให้ทารกได้พัก
การให้สารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
ใน1-2วันแรกให้NPO
ดูแลให้อาหารทางปาก
ให้นมแก้ทารก
ประเมินความสามาถในการดื่มนม
ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
เมื่อทารกอาการดีขึ้นจะรับนมได้มากขึ้น
ป้องกันไม่ให้ทารกต้องใช้พลังงานเยอะ
การป้องกันการติดเชื้อ
ล้างมือให้สะอาดก่อนทำกิจกรรมพยาบาล
เครื่องมือต้องสะอาด
อุปกรณ์ใช้เฉพาะคน
ดูแลความสะอาดร่างกาย
ช่วยแพทย์ทำ
Septic work up และติดตามผล
การป้องกันการเกิดน้ำตาลในเลือดต่ำ
ดูแลให้ทารกได้รับน้ำและนมทางปาก และ/หรือสารน้ำสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
แก้ไขและป้องกันไม่ให้เกิดสาเหตุส่งเสริมให้มีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ติดตามผล dextrostix
การป้องกันการเกิดเลือดออกและโลหิตจาง
การพยาบาล
ดูแลให้ทารกได้รับการฉีด Vit K1
หลีกเลี่ยงการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ ควรจะฉีดเข้าทางหลอดเลือดด้า
ดูแลการได้รับ Vit. E และ FeSO4 ทางปาก
ขณะดูดเสมหะหรือขณะใส่สายยางเข้าไปในทางเดินอาหาร
ติดตามและรายงานผล CBC
สังเกตและรายงานอาการที่แสดงว่ามีเลือดออกในอวัยวะต่าง ๆ
ดูแลให้ทารกได้รับธาตุเหล็กตามแผนการรักษา
การคงไว้ซึ่งความสมดุลของน้ำ กรด-ด่าง และอิเลคโทรลัยต์
การพยาบาล
ดูแลการได้รับสารน ้าและอิเลคโทรลัยต์ให้เพียงพอตามแผนการรักษา
จดบันทึก Intake และ output
ติดตามผล blood gas BUN electrolyte urine specific gravity
สังเกตอาการและอาการแสดงของการมีภาวะไม่สมดุลย์ของน้ำ กรด-ด่าง
การป้องกันการเกิดการแตกท้าลายของผิวหนัง
หลีกเลี่ยงการใช้พลาสเตอร์กับทารกเกินความจ้าเป็น
การแกะพลาสเตอร์ ทำด้วยความระมัดระวัง
ระมัดระวังการรั่วของสารน ้าออกจากหลอดเลือดในรายที่ได้รับสารน้ำ
การติด probe หรือ electrode ต่างๆ ไม่ควรติดแน่นเกินไป
ระมัดระวังการใช้สารละลาย
การป้องกันการเกิด Retinopathy of Prematurity
การพยาบาล
ดูแลให้ทารกรับออกซิเจนเท่าที่จำเป็น
ในทารกที่ได้รับออกซิเจน ควรใช้ pulse oximeter ติดตามO2
ดูแลให้ทารกได้รับยาวิตามินอีตามแผนการรักษา
เตรียมทารกแรกเกิดที่มีอายุในครรภ์น้อยกว่า 35 สัปดาห์
ดูแลให้ทารกมีภาวะ ROP รุนแรง
การดูแลการได้รับวิตามินและเกลือแร่
การดูแลเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของทารกแรกเกิด
การพยาบาล
การจัดท่า
หลีกเลี่ยงการเหยียดแขนขา
ห่อตัวทารกให้แขนงอ
การจับต้องทารก
จับต้องทารกเท่าที่จ้าเป็น
จับด้วยความนุ่มนวล
จัดสภาพแวดล้อมให้มีการกระตุ้นทางแสงและเสียงน้อยที่สุด
ก่อน ขณะ และหลังให้การพยาบาลควรประเมินความเครียดของทารก
ถ้าทารกแสดงสื่อสัญญาณว่าอยากมีปฏิสัมพันธ์ พูดคุยด้วยเสียงเบา นุ่มนวล
ส่งเสริมสัมพันธภาพบิดามารดา-ทารก
ส่งเสริม, กระตุ้นให้มารดามาเยี่ยมทารกให้เร็วที่สุด
เมื่อบิดามารดาเข้าเยี่ยมทารก ให้ข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วย การรักษาพยาบาลที่ทารกได้รับ
เปิดโอกาสให้บิดามารดาซักถาม ระบายความรู้สึก
ส่งเสริมการเลี้ยงทารกด้วยนมมารดา
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
การพยาบาล
ปิดตาทารกด้วยผ้าปิดตา (eyes patches)
ถอดเสื้อผ้าทารกออกและจัดให้ทารกอยู่ในท่านอนหงาย
ดูแลให้ทารกได้นอนอยู่บริเวณตรงกลางของแผงหลอดไฟ ในระยะห่างจากหลอดไฟ ประมาณ
35-50 เซนติเมตร
บันทึกและรายงานการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพทุก 2-4 ชม.
สังเกตลักษณะอุจจาระ
ดูแลให้ทารกได้รับการตรวจเลือดหาระดับบิลิรูบินในเลือดอย่างน้อยทุก 12 ชม.
สังเกตภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับการส่องไฟรักษา
MAS
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน ติดตามอาการแสดงของการขาดออกซิเจน
วัดความดันโลหิตทุก2- 4 ชั่วโมง
รบกวนทารกให้น้อยที่สุด
สังเกตอาการติดเชื้อ
ดูแลติดตามอาการ
อ้างอิงจาก
https://coggle.it/diagram/WqF7bfyPNX-BbVTD/t/intraventricular-hemorrhage
POBPAD. (2555). ความหมาย ภาวะโพรงสมองคั่งน้ำ (Hydrocephalus) [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ27 มิถุนายน 2563. จาก
https://www.pobpad.com/hydrocephalus