Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Intraventricular hemorrhage (ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (ข้อวินิจฉัยการพยาบาล…
Intraventricular hemorrhage
คือ
ภาวะเลือดออกในโพรงสมอง คือ ภาวะที่มีเลือดออกในกะโหลกศีรษะ ในเนื้อสมองส่วนที่เป็นโพรงสมอง (Ventricle)
อาจเกิดจากเลือดที่ออกโดยตรงในโพรงสมองหรือเลือดออกในโพรงสมองปฐมภูมิ (Primary intraventricular hemorrhage) หรือเกิดจากเลือดออกภายในเนื้อสมองก่อน แล้วแตกทะลุเข้าสู่โพรงสมอง/เลือดออกในโพรงสมองทุติยภูมิ(Secondary intraventricular hemorrhage)
ทั้ง 2 กรณี จะส่งผลให้การไหลเวียนของ CSF ถูกอุดกั้น ส่งผลเกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูงขึ้น (Increased intracranial pressure: ICP) จึงมีอาการผิดปกติต่างๆทางระบบประสาท
สาเหตุ
ภาวะเลือดออกในโพรงสมองทุติยภูมิ
เกิดจากการแตกของหลอดเลือดในเนื้อสมองก่อน
เลือดออกในเนื้อสมองจากโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ไม่ดี
เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง แล้วไหลเข้าสู่โพรงสมองในภายหลัง
text
อาการ
คลื่นไส้หรืออาเจียนอย่างรุนแรง กลืนลำบาก ลิ้นรับรสชาติผิดแปลกไปจากปกติ
แขนหรือขาอ่อนแรงเฉียบพลัน
หมดสติ ไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนอง มีการตื่นตัวน้อยลง ซึมลง
ตาพร่ามัว การตอบสนองของรูม่านตาไม่เท่ากันหรือตอบสนองช้า
พูดสื่อสารไม่รู้เรื่องหรือไม่เข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูด มีปัญหาในการเขียนหรืออ่านหนังสือ การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อมัดเล็กมีปัญหา เช่น มีอาการมือสั่น
วียนศีรษะ ความดันโลหิตสูง มีอาการปวดคล้ายเข็มทิ่ม
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย
ตรวจร่างกายทั่วไป
ประเมินNeuro sign
ซักประวัติ
ประวัติอาการผิดปกติดัง กล่าวข้างต้นในหัวข้อ อาการ ประวัติโรคประจำตัว ประวัติการใช้ยาต่างๆ
การตรวจทางห้องปฏิการและการตรวจพิเศษ
CBC BUN Cr- PT-PTT,INR Electrolyte Aerobic culture and sentivity gram stain
CT scan for brain
การรักษา
รักษาโดยการช่วยเหลือการหายใจ On ET-tube with bird mark 7 และSuction เมื่อมีเสมหะ
รักษาโดยการใช้ยา
ยาลดความดันโลหิตสูง
Madiplot (20) ½ ×2 Oral pc เวลาที่ใช้ 08:00 ,16:00 น.
Hydralazine 1 × 4 Oral pc เวลาที่ใช้ 08:00 ,12:00, 16:00, 20:00 น.
Nicardipine (1:5) titate V drip Keep BP ≤140/90 mm.Hg
ยากันชัก
Dilantin (50) 2×3 Oral pc เวลาที่ใช้ 06:00 น.,14:00 น.,20:00 น.
ยาละลายเสมหะ/ป้องกันการติดเชื้อทางเดินหายใจ
Flumucil 1 × 3 Oral pc เวลาที่ใช้ 08:00 ,12:00 ,16:00 น.
Augmentin 1.2 g V q 8 hr. เวลาที่ใช้ 06:00 ,14:00 ,22:00 น.
Berodual 1 NB q 6 hr. c prn เวลาที่ใช้ 06:00 ,12:00, 16:00, 18:00, 24:00 น.
Observe อาการ
พยาธิ
เนื่องจากผู้ป่วยเป็นผู้สูงอายุ และมีโรคประจำตัวคือความดันโลหิตสูง 12 ปี ขาดการรักษาอย่างต่อเนื่องทำให้ไม่สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ ทำให้ภายในหลอดเลือดมีความดันสูงกับกอบกับอายุที่มากขึ้นทำให้หลอดเลือดแข็งและเปราะ และไม่เคยตรวจร่างกายจึงไม่ทราบแนวโน้มการดำเนินไปของภาวะแทรกซ้อนจากความดันโลหิตสูง เมื่อความดันโลหิจสูงเป็นเวลานานทำให้ความดันในหลอดเลือดสูงส่งผลให้หลอดเลือดแตก ซึงอาการจะเป็นไปตามตำแหน่งที่เกิดซึ่งผู้ป่วยรายนี้พบการแตกของหลอดเลืดที่ Basal ganglia (มักจะพบในตําแหน่ง lateral ganglionic region เช่น globus pallidus, putamen และ external capsule) ในตําแหน่งนี้พบได้มากกว่าร้อยละ 80 ของผู้เสียชีวิต และมีเลือดออกในโพรงสมอง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 1 เสี่ยงต่อภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงเนื่องจากมีภาวะเลือดออกในโพรงสมองจากเส้นเลือดในโพรงสมองแตก
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 2 มีไข้เนื่องจากการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจจากภาวะเลือดออกในโพรงสมอง
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 3 เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพในการขับเสมหะลดลง
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 4 อาจเกิดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะเนื่องจากทางเดินปัสสาวะเปลี่ยนแปลงไป
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 5 เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับเนื่องจากการเคลื่อนไหวร่างกายได้น้อยจากกล้ามเนื้ออ่อนแรง
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 6 พร่องกิจวัตรประจำวันเนื่องจากกล้ามเนื้ออ่อนแรงจากภาวะเลือดออกในโพรงสมองจากventricularแตก