Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความปวด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความปวด
ความหมายของความเจ็บปวด
นิยามและคำอธิบาย
มาจากคำภาษากรีก “Poine”
McCaffery (1979)
ประสบการณ์ที่บุคคลกำลังประสบ และยังคงอยู่ตราบเท่าที่บุคคลระบุว่ามี
IASP (International Association for the Study of Pain)
ประสบการณ์ที่ไม่สุขสบาย ทั้งด้านความรู้สึกและอารมณ์
เกี่ยวข้องโดยตรงหรือโดยอ้อมกับการทำลายเนื้อเยื่อ
องค์ประกอบของความเจ็บปวด
ด้านความรู้สึก
เกิดจากการกระตุ้นตัวรับความเจ็บปวด
ด้านอารมณ์
ส่งผลต่อการรับรู้และการตอบสนอง
ด้านสังคม
อิทธิพลจากสิ่งแวดล้อมและความเชื่อ
กลไกการเกิดความเจ็บปวด
สิ่งกระตุ้นความเจ็บปวด (Pain Stimuli)
เชิงกล (Mechanical Stimuli)
การบาดเจ็บ, การอักเสบ, การหดเกร็งของกล้ามเนื้อ
อุณหภูมิ (Thermal Stimuli)
ความร้อน, ความเย็น
เคมี (Chemical Stimuli)
ฮีสตามีน, โพรสตาแกลนดิน, เบรดี้ไคนิน
ตัวรับความเจ็บปวด (Nociceptors)
ปลายประสาทอิสระ (Free Nerve Endings)
ตัวรับเชิงกลที่ไวสูง
Polymodal Nociceptors
รับแรงกด, สารเคมี, ความร้อน
ตัวรับเชิงกลที่ไวต่ำ
รับการสัมผัส, การสั่นสะเทือน
วิถีประสาทนำความรู้สึกปวด (Pain Pathways)
ใยประสาท A-Beta
รับสัญญาณเร็ว ช่วยลดความปวด
ใยประสาท A-Delta
รับความปวดเฉียบพลัน แหลมคม
ใยประสาท C
รับความปวดเรื้อรัง ปวดแสบร้อน
ทฤษฎีเกี่ยวกับความเจ็บปวด
ทฤษฎีควบคุมประตู (Gate Control Theory)
ไขสันหลังทำหน้าที่เปิด-ปิด “ประตู” สำหรับกระแสความปวด
กระแสใยประสาทใหญ่ (A-Beta) ยับยั้งความปวด
กระแสใยประสาทเล็ก (A-Delta, C) กระตุ้นความปวด
ทฤษฎีควบคุมภายใน (Endogenous Pain Control Theory)
การหลั่งสารธรรมชาติในร่างกาย
Enkaphalins
Endorphins
Dynorphins
ยับยั้งการส่งกระแสความปวด
ประเภทของความเจ็บปวด
แบ่งตามระยะเวลา
ความเจ็บปวดเฉียบพลัน (Acute Pain)
เกิดในระยะสั้น เช่น อุบัติเหตุ, การอักเสบ
อาการ: หัวใจเต้นเร็ว, ความดันโลหิตสูง
ความเจ็บปวดเรื้อรัง (Chronic Pain)
เกิดต่อเนื่อง >3 เดือน
ยากต่อการรักษา
แบ่งตามลักษณะสรีรวิทยา
Somatic Pain
ปวดเฉพาะที่ ระบุตำแหน่งได้ เช่น ผิวหนัง
Visceral Pain
ปวดอวัยวะภายใน เช่น ท้อง ปวดร้าว
Referred Pain
ปวดในบริเวณที่ไม่ได้รับบาดเจ็บ
การตอบสนองของร่างกายต่อความปวด
ระดับไขสันหลัง (Segmental Response)
เกิดกล้ามเนื้อหดเกร็ง (Muscle Spasm)
Vasospasm: หลอดเลือดหดตัว ลดเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อ
เหนือไขสันหลัง (Suprasegmental Response)
กระตุ้นระบบ Sympathetic → หัวใจเต้นเร็ว, ความดันโลหิตสูง
หลั่งฮอร์โมน Cortisol → ลดภูมิคุ้มกัน
กระประเมินความปวด
การรายงานของผู้ป่วย
VAS (Visual Analogue Scale)
Numerical Rating Scale (0-10)
MPQ (McGill Pain Questionnaire)
การสังเกตพฤติกรรม
สีหน้า: หน้านิ่ว คิ้วขมวด
การเคลื่อนไหว: นอนบิดตัว
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
ชีพจรเร็ว, ความดันสูง
การจัดการความเจ็บปวด
การใช้ยา
ยาระงับปวดเสพติด
มอร์ฟีน
เพทธิดีน
ยาระงับปวดไม่เสพติด
พาราเซตามอล
การไม่ใช้ยา
การปรับความคิด
สัมพันธภาพ
การเบี่ยงเบนความสนใจ
การกระตุ้นใยประสาทใหญ่
การนวด
พลังสัมผัส
บทบาทของพยาบาล
ใช้เทคนิคบรรเทาความปวดที่เหมาะสม
ให้ข้อมูลและสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้ป่วย
ประเมินระดับความปวด → วางแผนการดูแล