Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคโนโลยีที่ใช้ในการทำโดยไม่ต้องผ่านบุคคลที่สาม (Blockchain) - Coggle…
เทคโนโลยีที่ใช้ในการทำโดยไม่ต้องผ่านบุคคลที่สาม (Blockchain)
ความหมายของบล็อกเชน (Blockchain)
เทคโนโลยีการจัดเก็บข้อมูลแบบ Shared Database หรือที่รู้จักกันในชื่อ "Distributed Ledger Technology (DLT)” โดยเป็นรูปแบบการบันทึกข้อมูลที่รับประกันความ ปลอดภัยว่าข้อมูลที่ถูกบันทึกไปก่อนหน้านั้น ไม่สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขได้ ซึ่งผู้ใช้งานทุกคนจะได้เห็น ข้อมูลชุดเดียวกันทั้งหมด โดยใช้หลักการ Cryptography Computing เพื่อสร้างกลไกความน่าเชื่อถือ และความสามารถของ Disrtibuted
วิวัฒนาการของเทคโนโลยีบล็อกเซน (Blockchain)
จุดเริ่มต้นของเทคโนโลยีบล็อกเชน (Blockchain) เกิดขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 2008 Blockchain ก็เหมือนกับ เทคโนโลยีอื่นๆที่มีการพัฒนาอยู่อย่างต่อเนื่อง กพัฒนาทุกครั้งจะนำมาซึ่งคุณประโยชน์และประสิทธิภาพที่สูงขึ้น โดย สำหรับ Blockchain ปัจจุบันสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 Generations ซึ่งได้แก่
รุ่นที่2 สามารถเขียน Smart Contract ได้ (Etnereum)
รุ่นที่3 แก้ไขปัญหา Scalabitity (Cardano,Nano IOTA)
รุ่นที่1 ใช้สำหรับทำธุรกรรม Bitcoin
หลักการทำงานของเทคโนโลยีบล็อกเซน (Blockchain)
ขั้นตอนที่ 1 CREATE คือการสร้าง BLOCK ที่บรรรรจุคำสั่งขอทำรายการธุรกรรม
ขั้นตอนที่ 2 BROADCAST คือ กระจาย BLOCK ใหม่นี้ให้กับทุก NODE ในระบบ และบันทึกรายการธุรกรรมลง LEDGER ให้กับทุก NODE เพื่ออัปเดตว่ามี BLOCK ใหม่เกิดขึ้นมา
ขั้นตอนที่ 3 VALIDATION คือ NODE อื่นๆในระบบยืนยันและตรวจสอบข้อมูลของ BLOCK นั้นว่าถูกต้องตามเงื่อนไข VALIDATION โดยกระบวนการทำ CONSENSUS ถือว่า เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทำ VALIDATION
ขั้นตอนที่ 4 ADD TO CHAIN คือ นำ BLOCK ดังกล่าวมาเรียงต่อกันจาก BLOCK ก่อน หน้านี้
องค์ประกอบของเทคโนโลยี บล็อกเซน
Consensus
Chain
Validation
Block
รูปแบบของเครือข่ายบล็อกเซน
Permissioned public ledgers เป็น Distributed ledger ที่มีการถูก คัดเลือกผู้ที่เข้ามาเกี่ยวข้องไว้ก่อน เครือข่ายนั้นอาจจะมีเจ้าของ ซึ่งเหมาะกับแอปฯ ที่ต้องการ ความรวดเร็ว และมีความโปร่งใส ตัวอย่างเช่น Ripple ซึ่งเป็นระบบแลกเปลี่ยนหน่วยเงิน และการโอนเงินข้ามประเทศ
Permissioned private ledgers เป็น Private Blockchain เดินตัว ทั้งการเข้าถึง ข้อมูลและการ submit transaction ถูกจำกัดให้กับกลุ่มที่ถูกกำหนดไว้ก่อน ตัวอย่างเช่น Bankchain ซึ่งเป็นระบบ Clearing และ Settlement ที่ทำงานบน Blockchain
Non-permissioned public ledgers (หรือเสียกว่า Permissionless Ledgers) เป็น Blockchain ที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของ อนุญาตให้ใครๆ สามารถอ่านเคล้า ส่ง Transaction เคล้าได้ เปิดให้ใครๆ ก็สามารถมีส่วนร่วมในกระบวนการอันประกอบด้วยการระบุว่า block ไหนถูกเพิ่มเข้าไปใน chain ยกตัวอย่างเช่น กลุ่มของสกุลเงินดิจิทัล (Crypto Currency) อย่าง Bitcoin และ Ethereum ที่มองภาพกว้างกว่า Bitcoin โดยไม่จํากัดอยู่ แต่สกุลเงิน แต่เป็นระบบประมวลผลแบบไร้ศูนย์กลาง