Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงทางพยาธิสรีรวิทยามารดาหลังคลอด การวางแผนครอบครัว…
การเปลี่ยนแปลงทางพยาธิสรีรวิทยามารดาหลังคลอด การวางแผนครอบครัว ระยะให้นมบุตร
Puerperium
ระยะเวลาตั้งแต่รกคลอดครบจนถึง 6 สัปดาห์หลังคลอด
Immediate puerperium
ระยะหลังคลอด 24 ชั่วโมงแรก
ควรได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดเกี่ยวกับการหดรัดตัวของมดลูก
เพื่อป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
อาจมีอาการปวดมดลูก ปวดแผลฝีเย็บ
อ่อนเพลียจากการใช้พลังงานในการเบ่งคลอด
ต้องการการพักผ่อน
ควรส่งเสริมให้บิดามารดาและบุตรได้มีโอกาสอยู่ใกล้ชิดกัน
กรณีศึกษา : มีอาการปวดแผลฝีเย็บพอทน มีบ่นอ่อนเพลีย
Late puerperium
ระยะหลังจากระยะแรกจนถึง 6 สัปดาห์
มารดาหลังคลอดเริ่มปรับตัวได้ดีขึ้น
มารดาควรได้รับคำแนะนำ
การปฏิบัติตนหลังคลอด
การเลี้ยงดูบุตร
การเปลี่ยนแปลงของอวัยวะต่างๆ ในระยะหลังคลอด
กรณีศึกษา : มารดาไม่มีภาวะซึมเศร้าหลังคลอด สามารถให้นมทารกได้
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายของมารดาหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงของอวัยวะสืบพันธุ์
มดลูก (uterus) ระยะหลังคลอดทันทีมดลูกจะมีลักษณะกลมแข็งอยู่ที่ระดับสะดือ
ตรวจหน้าท้องคลำพบยอดมดลูกอยู่ระดับสะดือ
24 ชั่วโมงจึงลดระดับลง โดยจะค่อยๆลดระดับลงวันละ 1-2 เซนติเมตร
10 วันหลังคลอดไปแล้วจะคลำไม่พบมดลูกทางหน้าท้อง
เยื่อบุโพรงมดลูก (Endometrial)
ระยะ 2-3 วันหลังคลอด decidua ที่อยู่ในโพรงมดลูกจะแยกเป็น 2 ชั้น ซึ่งชั้นบนเป็นเนื้อเยื่อตาย (microtissue) จะหลุดออกมาเป็นน้ำคาวปลา
Lochia rubra มีลักษณะสีแดง
หลังคลอด 1 วัน มีลักษณะสีน้ำคร่ำเป็นแดง เปลี่ยน ผ้าอนามัยวันละ 2-3 แผ่น ไม่ชุ่ม
หลังคลอด 2-3 วัน สีน้ำคาวปลาเริ่มเป็นสีแดงจาง เปลี่ยนผ้าอนามัย 2-3 แผ่น ไม่ชุ่ม
Lochia serosa มีลักษณะสีชมพู-สีน้ำตาล
Lochia alba มีลักษณะสีฟางข้าว- สีขาว
ปากมดลูก (Cervix)
ระยะแรกหลังคลอดปากมดลูกจะมีลักษณะนุ่มบาง
external os มีลักษณะของการฉีกขาดทางด้านข้างจากการคลอดและเป็นริ้วรอยที่คงอยู่ตลอดไป
parous cervix
ขนาดเล็กลงจนกระทั่งสอดนิ้วไม่ได้ใน 1 สัปดาห์
กรณีศึกษา : Cervix มีลักษณะนุ่มบาง ปากมดลูกด้านนอก สอดนิ้วเข้าไปได้
external os ไม่มีรอยฉีกขาด
ส่วน internal os จะปิดก่อนภายใน 1-3 วันหลังคลอด
ช่องคลอด (Vagina)
ช่องคลอดขยายกว้างขึ้น
บริหารด้วยวิธีขมิบกันบ่อยๆ (Kegel’s exercise) จะช่วยให้กล้ามเนื้อช่องคลอดและกล้ามเนื้อในอุ้งเชิงกรานแข็งแรงเป็นปกติได้เร็วขึ้น
อ่อนนุ่มรอยย่น (rugae) จะลดลงเป็นผิวเรียบซึ่งจะกลับเป็นปกติภายใน 3 สัปดาห์หลังคลอด
เยื่อพรหมจรรย์ที่ฉีกขาดเป็น
แผลเป็น
กรณีศึกษา : ช่องคลอด (Vagina) คลอดมีการขยายออก รอยย่นลดลง เยื่อ พรหมจรรย์มีการฉีกขาด ไม่มีรอยบวม ช้ำของช่องคลอด
แผลฝีเย็บ (Perineum)
2-3 สัปดาห์แผลจะหายเป็นปกติใน 6 สัปดาห์หลังคลอด
กรณีศึกษา : Left Episiotomy แผลฝีเย็บแห้ง ติดกันดี ไม่มีปวด ไม่มีบวม
เต้านม (breast)
เต้านมมีขนาดใหญ่
ถุงผลิตน้ำนมมีการสร้างน้ำนมและท่อน้ำนมมีการขยายใหญ่เต็มที่
ลานนมจะขยายกว้างและมีสีเข้มขึ้น
ต่อมไขมันเล็กๆก็มีขนาดใหญ่มองเห็นได้ชัดเจนยิ่งขึ้น
กรณีศึกษา
เต้านมขนาดปกติ หัวนมและลานหัวนมปกติ ไม่บุ๋ม บอด แบน ไม่พบก้อนที่เต้านม
หัวนมทั้ง 2 ข้างยาว > 7 มิลลิเมตร ลานหัวนมนุ่มปกติสีเข้ม ต่อมไขมันบริเวณ
ลานนมมองเห็นชัดเจน น้ำนมเริ่มไหลทั้ง 2 ข้าง
ระบบไหลเวียนเลือด ปริมาณเลือด
ปริมาณเลือดในร่างกายลดลงอย่างรวดเร็วภายในระยะเวลา 1-2 สัปดาห์หลังคลอด
ระดับของเม็ดเลือดขาวจะพบจำนวน WBC เพิ่มขึ้น
ระบบหายใจ
ประสิทธิภาพของการหายใจเข้าลึกๆลดลง
หายใจเป็นปกติภายหลังคลอด 6-8 สัปดาห์หลังคลอด
กรณีศึกษา :หายใจปกติ ไม่มีหายใจลำบาก ไม่มีหอบเหนื่อย
RR = 20 /min, SpO2 = 98-100%
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ความดันในกระเพาะปัสสาวะน้อยลง
มักไม่รู้สึกปวดปัสสาวะหรือปวดแต่ปัสสาวะออกไม่หมด
กรณีศึกษา : สามรถปัสสาวะเองได้
ระบบทางเดินอาหาร
เริ่มหิวและกระหายน้ำทันทีที่คลอดเสร็จ
อาจเกิดอาการท้องผูกได้ในระยะคลอดมีสาเหตุจากการเคลื่อนไหวของลำไส้ลดน้อยลง
กรณีศึกษา : รับประทานอาหารได้ดี ไม่มีคลื่นไส้ ไม่มีอาเจียน ยังไม่ถ่ายอุจจาระ