Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 2 อินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง (Internet Of Things) - Coggle Diagram
หน่วยที่ 2 อินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง (Internet Of Things)
ความหมายของอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง
Internet of Things (IoT)
คือ อินเตอร์เน็ดในทุกสิ่ง หมายถึง การที่อุปกรณ์ต่าง ๆ สิ่งต่าง ๆ ได้ถูกเชื่อมโยงทุกสิ่งทุกอย่างสู่โลกอินเตอร์เน็ต ทำให้มนุษย์สามารถสั่งการควบคุม การใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ผ่านทางเครือข่ายอินเดอร์เน็ด เช่น การเปิด-ปิด อุปกรณ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า
IoT มีชื่อเรียกอีกอย่างว่า M2M
เทคโนโลยี IoT มีความจําเป็นต้องทํางาน ร่วมกับอุปกรณ์ประเภท RFID และ Sensors เปรียบเสมือนการเติมสมองให้กับอุปกรณ์ต่าง ๆ
oT มีชื่อเรียกอีกอย่างว่า M2M
ย่อมาจาก Machine to Machine คือเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ตเชื่อมต่ออุปกรณ์กับเครื่องมือต่างๆ เข้าไว้ด้วยกัน
ไอโอที
วิวัฒนาการของอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง
จากคำนิยามที่นาย Kevin Ashton ได้บรรยายไว้ ก็ได้มีการยกตัวอย่างเจ้าอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ ที่เข้าข่ายถือเป็น Internet of Things ได้นั้น ก็พบว่าตู้ ATM ที่เราใช้กดเงินกันอยู่ ทุกวันนี้นั้นถือเป็น Internet of Things ชิ้นแรกของโลก เพราะมันสามารถเชื่อมต่อสื่อสารหากัน ได้ ผ่านเครือข่ายของธนาคารและสาขาต่าง ๆ ซึ่งตู้ ATM นั้นถือกำเนิดขึ้นมาตั้งแต่ปี 1974 ก่อนที่จะมีการนิยามคำว่า Internet of Things เสียด้วยซ้ำ
ลักษณะการทำงานของอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง
อุปกรณ์และวัตถุที่มีอยู่ภายในเครื่องจับสัญญาณ (Sensor) จะทำการเชื่อมต่อกับ แพลตฟอร์ม Internet of Things ซึ่งรวบรวมข้อมูลจากอุปกรณ์ต่าง ๆ และใช้การวิเคราะห์ เพื่อแบ่งปันข้อมูลที่ดีที่สุด กับแอปพลิเคชั่นที่สร้างขึ้น เพื่อตอบสนองความต้องการที่เฉพาะเจาะจง แพลตฟอร์ม IoT
ประเภทของอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง
พื้นที่อุตสาหกรรม
คลังสินค้าเชิงพาณิชย์
ส่วนประกอบของเทคโนโลยี IoT
แบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลัก ดังนี้
ส่วนรับข้อมูล คือ ส่วนที่ช่วยให้อุปกรณ์ IoT รับรู้ข้อมูลจากสภาพแวดล้อมภายนอก เช่น เซ็นเซอร์
ส่วนสื่อสาร คือ ส่วนที่ช่วยให้อุปกรณ์ IoT มีความสามารถในการสื่อสาร เป็นส่วนที่ มีการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต โดยเทคโนโลยีที่กำลังได้รับความนิยมคือสมองกลฝังตัวที่ติดไว้ กับวัตถุ
ส่วนประมวลผลข้อมูล คือ ส่วนที่ช่วยให้อุปกรณ์ IoT มีความสามารถในการ ประมวลผลข้อมูลที่ได้รับ นับเป็นส่วนที่ทำให้เกิดกระบวนการทำงานในเทคโนโลยี IoT
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง
รับส่งข้อมูลในรูปแบบดิจิทัล
2.ทำงานตรวจสอบในจุดที่คนเข้าไม่ถึง
3.ลดภาระงานใหกับบุคลากร
4.แม่นยำ และส่งข้อมูลได้แบบ Real - Time
ความสัมพันธ์ระหว่าง Internet Of Things และ Big data
ด้านพลังงาน
มีการนำ IoT มาใช้จะเพิ่มความฉลาดของระบบพลังงานและระบบโครงสร้างพื้นฐาน ด้านพลังงาน ซึ่งช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ ในการจัดการพลังงานจากท่อส่งอัจฉริยะ (Smart Pipelines) ถึงมิเตอร์อัจฉริยะ (Smart Meters) และโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Grid) ทุก แง่มุมของการสร้าง และส่งต่อพลังงาน ล้วนถูกทำให้มีความปลอดภัยยิ่งขึ้น พึ่งพาอาศัยกันได้ มากขึ้น
ด้านการดูแลสุขภาพ
ตัวเลขค่าใช้จ่ายด้านการดูแลสุขภาพโดยเฉลี่ยสูงกว่า 10% ของ GDP ในระดับชาติ ของทั่วโลก IoT จึงเป็นหัวใจหลักในการปรับปรุง การนำเสนอบริการสำคัญด้านการดูแลสุขภาพ ผ่านการเชื่อมต่อ และการแบ่งปันข้อมูล ซึ่งเป็นเหตุผลของการสร้างศูนย์ทดลอง Connected Care ของ IIC โดยสมาชิกของศูนย์ดังกล่าว ต่างมุ่งเน้นในการสร้างระบบนิเวศด้านการดูแล
ภาคการผลิตและระบบซัพพลายเชน
นวัตกรรมด้าน IoT ในภาคการผลิตซึ่งปัจจุบันพัฒนาไปสู่โรงงานอัจฉริยะแห่งอนาคต (Smart Factory) IoT ให้ความสามารถในการปรับปรุงประสิทธิภาพ และผลลัพธ์ได้อย่างมากมาย มหาศาล ทั้งในเรื่องของกระบวนการผลิตไปตลอดทั่วทั้งซัพพลายเชนด้วย IoT กระบวนการ ผลิตจะควบคุมการทำงานได้ด้วยตัวเอง จากเครื่องจักร และอุปกรณ์ที่มีความชาญฉลาด
ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น
Intemet of Thing นั้นหากถูกพัฒนาอย่างสมบูรณ์แบบ จะมีประโยชน์ต่อผู้ใช้ เป็นอย่างมากในแง่ของความสะดวกสบาย และรวดเร็ว ช่วยลดขั้นตอนความยุ่งยากในการทำ
กิจกรรมประจำวันต่าง ๆ แต่ถึงอย่างนั้น ก็ยังคงมีข้อบกพร่อง
ปัญหาด้านการส่งข้อมูล
หัวใจหลักของแนวคิด Internet of Thing คือระบบเครือข่ายที่เป็นตัวกลางในการรับส่ง ข้อมูลของอุปกรณ์ต่าง ๆ และเครือข่ายที่สำคัญที่สุดคือ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต หมายความว่า แนวคิดนี้จะต้องพึ่งพาเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นหลัก
ปัญหาด้านความปลอดภัย
การรักษาความปลอดภัยยิ่งสามารถทำได้ยากยิ่งขึ้น หากสามารถเจาะเข้าอุปกรณ์ชิ้นหนึ่งในเครือข่ายนั้นได้ ก็จะสามารถเข้าถึงอุปกรณ์ชิ้น อื่นได้ง่ายขึ้น เนื่องจากแนวความคิด Internet of Thing นั้นคือการเชื่อมต่อทุกสิ่งเข้าด้วยกัน ดังนั้นอุปกรณ์ทุกชิ้นจึงเปรียบเสมือน อยู่ในเครือข่ายข้อมูลเดียวกัน
ปัญหาการประมวลผลผิดพลาด
คือต้องการให้อุปกรณ์ต่าง ๆ ติดต่อสื่อสารกันเอง และกระทำสิ่งต่าง ๆ อัตโนมัติโดยไม่ต้องรอคำสั่งของผู้ใช้ แต่อย่างไรก็ต้องป้อนข้อมูล และเขียน โปรแกรมคำสั่ง เพื่อให้อุปกรณ์นั้น ๆ สามารถทำงานได้ ซึ่งบางครั้งอาจจะเกิดความผิดพลาด จากการเขียนคำสั่งไม่รัดกุม หรือครอบคลุมพอแนวความคิด
ปัญหาเกี่ยวกับผู้ใช้งาน
การที่มีสิ่งอำนวยความสะดวกมากไปจะส่งผลเสียต่อการดำเนินชีวิต ซึ่งจะทำให้ผู้ใช้ ติดความสบาย จนไม่สามารถทำเรื่องพื้นฐานได้ด้วยตนเอง รวมถึงการเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก็เป็นเรื่องสำคัญที่การรับรู้ของแต่ละบุคคลไม่เท่าเทียมกัน