Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่ถูกงูพิษกัด, กนกรัตน์ ไตรสุวรรณ 6402101002 - Coggle…
การพยาบาลผู้ป่วยที่ถูกงูพิษกัด
วิธีสังเกตงู
งูมีพิษ
หัว เป็นสามเหลียม จะมี หลุม(รู) บนหัว
รูม่านตา แนวขวางคล้ายกับตาของแมว
สี สีสันฉูดฉาด มีข้อยกเว้นสำหรับงูบางชนิด เช่น งูจงอาง งูเห่า
หาง สั่นมักมีเสียงบางชนิดมักไม่ค่อยทำเสียงดังให้รู้ตัว
พฤติกรรม แตกต่างกัน
เกล็ดใต้ท้องตรงปลายหาง เกล็ดแถวเดียว
รอยกัด มีเขี้ยว 1 คู่ อยู่ตรงชากรรไกรบน เขี้ยวมีลักษณะเป็นรูกลวงคล้ายเข็มฉีดยา มีท่อติดต่อกับต่อมน้ำพิษ
งูไม่มีพิษ
หัว บางชนิดก็มีหัวเป็นรูปสามเหลี่ยม
รูม่านตากลม
สี สีค่อนข้างทึบ
หาง บางส่วนค่อนข้างใหญ่ บางส่วนทรงกระบอกยาว
พฤติกรรม มีแค่หัวที่อยู่เหนือน้ำ
เกล็ดใต้ท้องตรงปลายหางมีสองแถว
รอยกัด จะไม่มีเขียว มีแต่ฟัน รอยถลอกหรือรอยถาก(งูเหลือม และงูหลามตัวใหญ่ สามารถรัดลำตัว ทำให้ตายได้)
ประเภทงู
พิษต่อระบบประสาท
(neurotoxin)
งูเห่า
ทั่วประเทศ กลาง เหนือตอนล่าง
บวม ปวด อักเสบ เนื้อตาย
งูเห่าพ่นพิษ
ตะวันออกเฉียงเหนือ กลาง เหนือ ตก
บวม ปวด อักเสบ เนื้อตาย
งูจงอาง
ป่ารก กลาง ใต้ เหนือตอนบน
บวม ปวด อักเสบ เนื้อตาย
งูสามเหลี่ยม
ทั่วประเทศ
บวมเล็กน้อย ทำลายเซลล์ประสาทถาวร
งูทับสมิงคา
ใต้ ออก ออกเฉียงเหนือ
บวมเล็กน้อย ทำลายเซลล์ประสาทถาวร
พิษต่อระบบโลหิต
(hematotoxin)
ปวด บวม รอยเขี้ยวมีเลือดไหล ผิวหนังพองเป็นถุงน้ำ (bluister) และมีเลือดออกปนในถุงน้ำ (bleb) หากมีขนาดใหญ่จะทำให้เนื้อใต้ถุงน้ำเกิดการตายได้
งูแมวเซา
ภาคตะวันออก ภาคกลาง
งูเขียวหางไหม้
ทั่วประเทศ พบมากใน กทม.
งูกะปะ
ภาคใต้ ชายฝั่งทะเลตะวันออก ภาคเหนือ
พิษต่อระบบกล้ามเนื้อ
(myotoxin)
งูทะเล
ชายฝั่งทะเลตะวันออก ตะวันตก
บวม ปวดกล้ามเนื้อรุนแรง อักเสบ เนื้อตาย
อาการตามระบบ
พิษต่อระบบประสาท
(neurotoxin)
กล้ามเนื้ออ่อนแรง ทั่วร่างกาย หนังตาตก พูดไม่ชัด กลืนลำบาก ซึมเกิดอัมพาตและระบบการหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน
พิษต่อระบบโลหิต
(hematotoxin)
เลือดออกตามไรฟัน เลือดออกตามผิวหนังและใต้ชื้นผิวหนังและมีเลือดออกตามรอยเขี้ยวงู ออกในชั้นของกล้ามเนื้อออกตามรอยเข็มเจาะ เลือดออกในทางเดินอาหาร ทางเดินปัสสาวะ และหากปริมาณเลือดออกผิดปกติ ตามระบบมีปริมาณมากจะพบอาการแสดงของภาวะสมองขาดเลือดตามมา
พิษต่อระบบกล้ามเนื้อ
(myotoxin)
อาการแสดงของภาวะไตวายเฉียบพลันที่เกิดจากอุดตันท่อหน่วยไตของมัยโอโกลบิน อาการที่พบได้แก่ปัสสาวะออกน้อยสีโค้ก และพบตะกอนของกล้ามเนื้อลาย เม็ดเลือดแดงและโปรตีนปนออกมากับปัสสาวะด้วย พบภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูงเฉียบพลันก่อให้เกิดหัวใจเต้นผิดจังหวะระบบไหลเวียนขาดประสิทธภาพ
เซรุ่มต้านพิษงู
เฉพาะชนิด
(Monovalent antivenom)
มี 7 ชนิด
ต้านพิษงูเห่า (ใช้แก้ พิษงู Najakaouthia), ต้านพิษงูจงอาง, ต้านพิษงูสามเหลี่ยม, ต้านพิษงูทับสมิงคลา, ต้านพิษงูแมวเซา, ต้านพิษงูกะปะ, ต้านพิษงูเขียวหางไหม้ (ใช้แก้พิษงู Trimeresurus albolabris)
ต้านพิษงูรวม
(Polyvalent antivenom)
1) เซรุ่มต้านพิษงูรวมระบบประสาท (Neuropolyvalent snake antivenom)
การมีกล้ามเนื้ออ่อนแรง เริ่มมีหนังตาตก ไม่ต้องรอให้มีภาวะหายใจล้มเหลว
สงสัยงูทับสมิงคลาหรืองูสามเหลี่ยม
2) เซรุ่มต้านพิษงูรวมระบบไลหิต (Hemato polyvalent snake antivenom)
มีเลือดออกตามระบบ
VCT > 20 นาทีหรือ PT ยาวกว่าปกติ หรือ INR > 1.2
เกล็ดเลือดต่ำกว่า 50,000/mm3
เกิด Compartment syndrome
การพยาบาล
ก่อนมาโรงพยาบาล
พยายามให้บริเวณที่ถูกงูกัดเคลื่อนไหวน้อยที่สุด จะชะลอการซึมของพิษงูเข้าสู่ร่างกายได้ วางอวัยวะส่วนนั้นให้ต่ำ/ระดับเดียวกับหัวใจ
ล้างแผลด้วยน้ำสะอาดหรือน้ำสบู่ ห้ามกรีด ตัด ดูด จี้ไฟ หรือพอกยาบริเวณแผลที่ถูกงูกัด อาจทำให้มีการติดเชื้อได้และควรบีบเลือดให้ออกจากแผลมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ห้ามปากดูดเพราะเกิดอันตรายร้ายแรงต่อผู้ดูด
ไม่ควรขันชะเนาะ เพราะไม่สามารถป้องกันการดูดซึมงได้ และถ้ารัดแน่นเกินไปอาจทำให้เกิดเนื้อเน่าตายได้
ให้ยาแก้ปวดได้ แต่ห้ามใช้ยาที่มีฤทธิ์แอลกอฮอล์ ยาระงับประสาท ยานอนหลับ ยาดองเหล้า
นำตัวผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลโดยเร็วที่สุด และนำงูที่กัดมาด้วยถ้าเป็นไปไปได้ หรือถ่ายรูปมา
ในโรงพยาบาล
ประเมิน A (Airway) B (Breathing) C (Circulation) และให้การช่วยเหลือเบื้องต้น
ในกรณีที่ผู้ป่วยเอาเชือกรัดเหนือแผลมา ควรคลายเชือกหรือที่รัดออก
อธิบายให้ผู้ป่วยหรือญาติคลายความวิตกกังวล และอย่าตกใจมาก
ทำความสะอาดด้วยแอลกอฮอล์ หรือ povidone iodine
ชักประวัติ ตำแหน่งที่ถูกงกัด สถานที่ที่ที่ถูกกัด ชนิดของงู การนำซากงูมา เวลาที่ถูกกัดหรือระยะยะเวลา ก่อนมาถึงโรงพยาบาล ระยะเวลาที่เริ่มมีอาการหลังถูกงูกัด อาการที่เกิดขึ้น
ตรวจร่างกาย โดยพิจารณาสัญญาณชีพ รอยเขี้ยว และขนาดบริเวณแผลที่ถูกกัด ตรวจระบบประสาทกรณีที่สงสัยงูที่มีพิษต่อระบบประสาท ตรวจหาภาวะเลือดออกผิดปกติหรือเลือดออกจากส่วนต่างๆของร่างกายในกรณีที่สงสัยงูที่มีพิษต่อระบบเลือด ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
กนกรัตน์ ไตรสุวรรณ 6402101002