Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การทำข้อมูลให้เป็นภาพและการสื่อสารด้วยข้อมูล :star:, บทที่ 7…
บทที่ 4 การทำข้อมูลให้เป็นภาพและการสื่อสารด้วยข้อมูล :star:
การสื่อสารด้วยข้อมูล : :
ผู้ส่งสาร
สาร
ช่องทางการสื่อสารหรือสื่อ
ผู้รับสาร
การทำข้อมูลให้เป็นภาพ
แผนภูมิรูปวงกลม
แผนภูมิแท่ง
กราฟเส้น
แผนภาพกระจาย
การเล่าเรื่องจากข้อมูล
วิธีนำเสนอ 4 รูปแบบ
แบบตู้กดน้ำ
แบบร้านกาแฟ
แบบห้องสมุด
แบบห้องทดลอง
ข้อควรระวังในการนำเสนอข้อมูล
สิ่งที่ต้องคำนึง
ข้อมูลที่ใส่ต้องสั้น กระชับ ตรงตามวัตถุประสงค์
สีที่ใช่ต้องสบายตา และน่าสนใจ
รูปที่ใช้ต้องสอดคล้อง
รูปที่ใส่จะต้องไม่ใหญ่เกิน
ภาพเคลื่อนไหวควรใส่ให้เหมาะสม
การใช้ภาพพื้นหลัง ควรหลีกเลี่ยงจะทำให้ตัวหนังสืออ่านยาก
สิ่งที่ไม่ควรทำในการนำเสนอ
อาขยาน อ่านกระจุย
อย่าไว้ใจทาง อย่าวางใจคอมพิวเตอร์
อย่านอกเรื่องไปไกล
อย่าเยอะ
ใช้ตัวอักษรบนหน้าสไลด์น้อยที่สุด
บทที่ 7 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่
ปัญญาประดิษฐ์
แนวคิดด้านปัญญาประดิษฐ์
การรับรู้
การปฏิสัมพันธ์อย่างเป็นธรรมชาติ
ผลกระทบทางสังคม
การประมวลผลแบบคลาวด์
อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
เทคโนโลยีเสือนจริง
เทคโนโลยีอื่นๆที่ควรรู้
บทที่ 5 การแบ่งปันข้อมูล : :star:
องค์ประกอบของการสื่อสาร
ผู้ส่ง
สาร
ช่องทาง
ผู้รับ
เทคนิคและวิธีการแบ่งปันข้อมูล
ช่องทางการสื่อสาร
การสื่อสารโดยตรง
สื่อมวลชน
สื่อสังคมออนไลน์
Blog
ขั้นตอนการเขียน
การวางแผน
ค้นคว้า
ตรวจสอบข้อมูล
การเขียนคำโปรย
การเขียน
การใช้ภาพประกอบ
ตรวจทานแก้ไข
อินฟลูเอนเซอร์
แฟ้มสะสมผลงาน(Portfolio)
รวบรวมผลงาน
จัดหมวกหมู่
คัดเลือกผลงาน
จัดลำดับความน่าสนใจ
จัดลำดับและเรียงเรื่องราว
ตรวจทาน
ข้อควรระวังงในการแบ่งปันข้อมูล
ไม่มีความลับในสังคมออนไลน์
ข้อมูลบางชนิดไม่ควรเปิดเผย
ข้อมูลบางชนิดอาจถูกนำมาใช้หลอกลวง
การรักษาข้อมูลที่ได้รับการปกป้องตามกฎหมาย
บทที่ 6 จริยธรรมและจรรยาบรรณ
และ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ :star:
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ มาตรา 5 | ตัวอย่างการกระทำผิด
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ มาตรา 9 | ตัวอย่างการกระทำผิดทำลาย แก้ไข ดัดแปลง นำไฟล์อันตรายเข้าสู่คอม จนทำให้ข้อมูล
คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นเสียหาย
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ มาตรา 11 | ตัวอย่างการกระทำ
ผิด
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ มาตรา 12 ตัวอย่างการกระทำ
ผิด
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ มาตรา 13
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ มาตรา 14
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ มาตรา 16
จริยธรรมคอมพิวเตอร์
ความแตกต่างระหว่างจริยธรรมกับ
กฎหมาย
กฎหมายเป็นสิ่งที่ออกโดยรัฐ ผ่านกระบวนการนิติบัญญัติ แต่
จริยธรรมเป็นเรื่องของคนในสังคมร่วมกันสร้างขึ้นมา
กฎหมายเป็นข้อบังคับที่เป็นลายลักษณ์อักษร แต่จริยธรรม เป็นเรื่อง
ของความสมัครใจ
กฎหมายมีบทลงโทษที่ชัดเจน และแน่นอน แต่จริยธรรมไม่มีบท
ลงโทษสำหรับฝ่าฝืน
กฎหมายเป็นสิ่งที่ควบคุมการกระทำของคน แต่จริยธรรมเป็นสิ่งที่
ควบคุมจิตใจ ไม่ให้คนกระทำในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง
จริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
1.ความเป็นส่วนตัว
2.ความถูกต้อง
3.ความเป็นเจ้าของ
ทรัพย์สินทางปัญญา
ความลับทางการค้า
ลิขสิทธิ์
สิทธิบัตร
4.การเข้าถึงข้อมูล
การแทนความรู้และการให้เหตุผล
การเรียนรู้