Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Emotional Crisis and Emergency psychiatric nursing care - Coggle Diagram
Emotional Crisis and Emergency psychiatric nursing care
ประเภทของภาวะวิกฤต
ภาวะวิกฤตที่เกิดจากสถานการณ์ในชีวิตที่เปลี่ยนไปของบุคคล (Internal / Subjective crisis)
ภาวะวิกฤตที่เกิดจากสถานการณ์ในชีวิตที่เปลี่ยนไปของบุคคล (Internal / Subjective crisis)
ภาวะวิกฤตที่เกิดจากเหตุการณ์ตามขั้นตอนพัฒนาการของชีวิต (Developmental Crisis)
ภาวะวิกฤตที่เกิดจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ(Adventitious crisis)
ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการเผชิญภาวะวิกฤตของบุคคล
บุคลิกภาพดั้งเดิม
ภาวะสุขภาพทางกายและอารมณ์ขณะนั้น
การรับรู้ต่อสถานการณ์แต่ละคนจะมีการรับรู้ไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของผลกระทบที่มี
ต่ออัตมโนทัศน์ของบุคคล
วิธีการเผชิญปัญหาและความสามารถในการปรับตัว
ประสบการณ์/บทเรียนในอดีต มีผลต่อความเชื่อมั่นบุคคลนั้นๆ
ความรุนแรงหรือความซับซ้อนของปัญหา
ขนบธรรมเนียม ประเพณีวัฒนธรรม การดําเนินชีวิตตามขนบธรรมเนียมประเพณีในแต่ละสังคม
8.การมี/ไม่มีแหล่งสนับสนุนทางสังคมที่พร้อมให้หรือขอความช่วยเหลือได้
ปัจจัยที่มีผลต่อความสําเร็จในการปรับตัวเข้าสู่สภาวะสมดุลของบุคคล
มีการรับรู้ของบุคคลต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นถูกต้องตรงตามความเป็นจริง
การมีระบบสนับสนุนในสถานการณ์อย่างเพียงพอ
มีกลไกในการเผชิญปัญหาที่เหมาะสม
ขั้นตอนการเกิดภาวะวิกฤติทางอารมณ์ และลักษณะการปรับตัวของบุคคล
●ระยะที่ 1 ระยะเริ่มต้นของการเสียสมดุล (begining sense of disequilibrium) เป็นระยะที่บุคคล
รับรู้ว่าอยู่ในภาวะที่ก่อให้เกิดอันตราย ทําให้เกิดความเครียด
● ระยะที่2 ระยะรับรู้เหตุการณ์ระยะนี้บุคคลจะมีความตึงเครียดและความวิตกกังวลมากขึ้นจากการไม่
สามารถแก้ปัญหาได้เริ่มมีความแปรปรวนของอารมณ์
● ระยะที่3 ระยะนี้เป็นระยะที่พยายามไขสถานการณ์โดยการลองผิดลองถูกแล้วล้มเหลวจนทําให้บุคคล
เกิดความเครียด กลัวและความวิตกกังวลเพิ่มมากขึ้น
● ระยะที่4 ระยะนี้บุคคลจะเสียภาวะความสมดุลทางอารมณ์เข้าสู่ภาวะวิกฤต
เป้าหมายในการช่วยเหลือบุคคลในภาวะวิกฤต
เพื่อให้เกิดความปลอดภัยของชีวิต และทรัพย์สิน
มีการจัดการทางความคิดให้เข้าใจในปัญหาและหาทางเลือกที่เหมาะสม
มีการจัดการด้านความรู้สึกให้สามารถแสดงออกและจัดการอารมณ์ได้อย่างเหมาะสม
สามารถแสวงหาความช่วยเหลือจากแหล่งประโยชน์ต่างๆได้
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะจิตเวชฉุกเฉิน
หมายถึง ภาวะที่ผู้ป่วยมีความแปรปรวนของความคิด การรับรู้ อารมณ์ หรือพฤติกรรมที่ผิดปกติขึ้นอย่างเฉียบพลัน หรือรุนแรง ไม่สามารถควบคุมได้ส่งผลต่อความปลอดภัย หรืออันตรายแก่ตัวผู้ป่วย ผู้อื่น และทรัพย์สินได้ จําเป็นที่ผู้ป่วยต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน
เป้าหมายการช่วยเหลือผู้ที่อยู่ในภาวะจิตเวชฉุกเฉิน
1.รักษาความปลอดภัยของผู้ป่วย และบุคคลรอบข้าง
2.ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถจัดการกับภาวะอารมณ์ของตนเองได้
การจัดลําดับความรุนแรงของจิตเวชฉุกเฉิน
เร่งด่วนฉุกเฉิน (Urgent) จําเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือทันที เช่น กรีดข้อมือตนเอง กําลังจะกระโดด
ตึก หรืออาละวาดจะทําร้ายผู้อื่น
เร่งด่วน (acute) ต้องได้รับการช่วยเหลือภายใน 30-60 นาที เช่น รับประทานยานอนหลับเกินขนาด
ตะโกนเสียงดังด่าว่า และวุ่นวายอยู่นิ่งไม่ได้
ไม่เร่งด่วน (non acute) สามารถรอเวลาเพื่อสังเกตการเปลี่ยนแปลงได้ เช่น ร้องไห้คร่ําครวญ หรือ
โกรธ ไม่พูด มองผู้อื่นด้วยสายตาที่ไม่เป็นมิตร
อาการและอาการแสดงของบุคคลในภาวะจิตเวชฉุกเฉิน
ทันทีทันใด (Immediate) หมายถึง สภาพความเร่งด่วนที่จําเป็นต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างใด
อย่างหนึ่งทันทีเช่น ผู้ที่กําลังจะกระโดดตึก ผู้ป่วยที่เอะอะโวยวายมีท่าทางจะทําร้ายร่างกายผู้อื่น
ฉุกเฉิน (Emergency) หมายถึง สภาพความเร่งด่วนที่จําเป็นต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างใดอย่าง
หนึ่ง ภายใน 10 นาทีเช่น ผู้ป่วยกําลังมีพฤติกรรมก้าวร้าวทั้งด้านร่างกายและคําพูด
เร่งด่วน (Ugent) หมายถึง สภาพความเร่งด่วนที่จะต้องได้รับการช่วยเหลือภายใน 30 นาที เช่น
ผู้ป่วยวุ่นวายอยู่นิ่งไม่ได้
กึ่งเร่งด่วน (Semi-urgent) หมายถึง สภาพที่ไม่เร่งด่วน สามารถรอเวลาเพื่อสังเกตการเปลี่ยนแปลง
ได้แต่ควรได้รับการช่วยเหลือภายใน 1 ชั่วโมง
ส่งต่อ (refer) หมายถึง ผู้รับบริการที่สมควรส่งไปรับบริการจากแหล่งที่มีบริการรักษาและช่วยเหลือ
เฉพาะทางต่อไป เช่น ผู้มีปัญหาระดับสติปัญญาต่ําที่ถูกข่มขืน