Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมาดาที่ตกเลือดในระยะตั้งครรภ์ : - Coggle Diagram
การพยาบาลมาดาที่ตกเลือดในระยะตั้งครรภ์
:
**คือ การเลือดออกทางช่องคลอดในช่วงตั้งครรภ์ไปจนถึงก่อนเข้าสู่ระยะคลอด
เลือดออกในระยะแรกของการตั้งครรภ์
ตั้งครรภ์นอกมดลูก
คือ การตั้งครรภ์ที่เกิดจากไข่ที่ถูกผสมมีการฝังตัวและเจริญเติบโตนอกมดลูก พบได้บ่อยใน Tubal implantation บริเวณAmpular
สาเหตุ
Pelvic imflamination disease
ท่อนำไข่ผิดปกติตั้งแต่กำเนิด
เนื้องอกมดลูก/เนื้องอกรังไข่โตขึ้น
แผลจากTubal surgery
การใส่IUD
กระตุ้นให้เกิดการตกไข่เพื่อรักษาภาวะมีบุตรยาก
อาการและอาการแสดง
ปวดท้อง
ปวดร้าวที่ไหล่
เลือดออกทางช่องคลอด
shock
เจ็บปวดและเกร็งหน้าท้อง
เขียวช้ำบริเวณหน้าท้องและรอบสะดือ
การประเมินมารดาที่ตั้งครรภ์นอกมดลูก
การประเมินประวัติ
ประวัติประจำเดือน
การมีเลือดออกทางช่องคลอด
อาการกดเจ็บบริเวณท้องน้อย
อาการแน่นท้อง
อาการปวดร้าวไปที่ไหล่
ตรวจร่างกาย
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
Urien pregnancy test
CBC
Ultrasound
Culdocentasis
Culdoscopy
Laproscopy
แนวทางการรักษา
การผ่าตัด Salpingectomy
ยาMethotrexate
ตั้งครรภ์ไข่ปลาอุกและมะเร็งไข่ปลาอุก
แบ่งชนิด
ตามพยาธิสภาพของเนื้อเยื่อ
ครรภ์ไข่ปลาอุก
ครรภ์ไข่ปลาอุกที่เป็นทั้งถุงน้ำทั้งหมด
คือ อสุจิผสมกับไข่ที่ไม่มีนิวเคลียส ทำให้ไข่ที่ผสมแล้วเสื่อมสลายไม่มีตัวทารก ถุงน้ำคร่ำ หลอดเลือด โดยรกจะฝ่อเป็นถุงน้ำใสๆและผลืตhCGมากกว่าปกติ
ครรภ์ไข่ปลาอุกที่เป็นถุงน้ำบางส่วน
คือ การผสมของอสุจิกับไข่ รวมทั้งหมด69โรคโมโซม มักพบตัวอ่อนร่วมกับลักษณะเนื้อรกปกติ
ครรภ์ไข่ปลาอุกลุกลาม
คือ moleแผ่ขยายเข้าไปในกล้ามเนื้อมดลูก
มะเร็งครรภ์ไข่ปลาอุก
คือ มะเร็งที่เนื้อรกที่เกิดขึ้นระหว่างหรือหลังการตั้งครรภ์ชนิดใดก็ได้
Hammond's Classification
Hydatidiform mole
ผลกระทบต่อมารดา
อาการคลื่นไส้อาเจียนมาก
ภาวะซีด
ติดเชื้อในระบบสืบพันธุ์สตรี
มีโอกาเกิด Thyroid strom
มีโอกาสเกิด Trophoblastic emboli
มีโอกาสเกิดChoriocarcinoma
ผลกระทบต่อทารก
เสียชีวิตและแท้ง
Malignant Gestation Trophoblastic Neoplasm
Non-matastasis GTN
Persistant Hydatidiform Mole
Invasive mole
Cariocarcinoma
Matastasis GTN
ชนิด
Good Prognosis
Poor Prognosis
แนวทางการรักษา
ยาเคมีบำบัด
ตัดมดลูก
รังสีรักษา
การประเมินมารดาที่มีภาวะตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก
มีขนาดมดลูกโตกว่าอายุครรภ์
มีเลือดออกกระปริบกระปรอยในช่วงอายุครรภ์12สัปดาห์
ความดันโลหิตสูง พบโปรตีนในปัสสาวะหรืออาการบวม
พบTheca-Lutein Cyst
ต่อมไทรอยด์ทำงานมากเกิน
ฮอร์โมนhCGสูงกว่าปกติ
ทารกไม่ดิ้น
Snow strom Apperance
Honeycomb Appearance
อาการแพ้ท้องรุนแรง
แนวทางการรรักษา
แก้ไขและควบคุมภาวะแทรกซ้อน เช่น ตกเลือด ซีด ความดันโลหิตสูง
ทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุด
ขูดมดลูก
ตัดมดลูก
ให้ยาเคมีบำบัด
ภาวะแท้งบุตร
คือ การสิ้นสุดการตั้งครรภ์ในช่วงอายุครรภ์ที่ทารกในครรภ์ยังไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ถ้าคลอดออกมาสู่โลกภายนอก
สาเหตุการแท้ง
การแท้งที่เกิดขึ้นเอง
คือ การแท้งที่เกิดจากสาเหตุต่างๆที่ไม่เกี่ยวกับการกระทำจงใจจะให้เกิดการแท้ง
แท้งเอง
แท้งคุกคาม
คือ เด็กอาจจะยังไม่เสียชีวิตหากได้รับการรักษาทันท่วงที
แนวทางการักษา
พักผ่อนทั้งร่างกายและจิดใจ
ลดการหดรัดตัวของมดลูก
สังเกตอาการเลือดออก
งดการทำงานหนัก
ให้สารน้ำเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
แท้งครบ
คือ ส่วนที่แท้งออกมามทั้งส่วนของทารก รก ครบถ้วนสมบูรณ์
อาการและอาการแสดง
มีเลือดออกกระปริบกระปรอย
อาการตั้งครรภ์หายไป
ปากมดลูกปิด ไม่นุ่มเหมือนตอนตั้งครรภ์
แนวทางการรักษา
ยาErgometrium
ยาบำรุงธาตุเหล็กและวิตามิน
ขูดมดลูก ในกรณีที่มีเศษชื้นเนื้อหลงเหลือในโพรงมดลูก
แท้งไม่ครบ
คือ ส่วนที่แท้งออกมาไม่ครบถ้วน
แนวทางการรักษา
ตรวจสอบอย่างละเอียดว่ามีชื้นเนื้อหลุดออกมาครบ
ขูดมดลูก
อาการและอาการแสดง
เลือดออกทางช่องคลอด
ปากมดลูกขยายตัว
มีชื้นเนื้อหลุดออกมา
แท้งค้าง
คือ ทารกในครรภ์เสียชีวิตและยังคงอยู่ในมดลูก
อาการและอาการแสดง
มดลูกมีลักษณะเนื้อยุ่ย
ไม่ปวดท้อง
ไม่มีเลือดออกทางช่องคลอด
ไม่ปวดมดลูก
อาการตั้งครรภ์ลดลง
แนวทางการรักษา
ยาบีบมดลูก
ภาวะแทรกซ้อนจากการแท้ง
ภาวะการติดเชื้อ
ภาวะDisseminated intravascular coagulation
แท้งเป็นอาจิณ
คือ มีประวัติการแท้งเองมากกว่า3ครั้งขึ้นไป
แนวทางการรักษา
ตรวจหาความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ โรคเบาหวาน ความผิดปกติโคโมโซม
ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน
เผ็บผูกปากมดลูก
การทำแท้ง
เพื่อการรักษา
คือ การทำแท้งในกรณีที่กฏหมายอนุญาติให้ทำได้
กรณี
เห็นว่าหากปล่อยให้การตั้งครรภ์ดำเนินไปจะเป็นอันตรายต่อชีวิตมารดา
มารดาเป็นโรคจิต
การตั้งครรภ์จากการข่มขืนผู้เยาว์ต่ำกว่า15ปี
ทารกมีความผิดปกติแต่กำเนิด
ทำแท้งผิดกฏหมาย
การประเมินมารดาที่มีภาวะแท้งบุตร
การซักประวัติ
ประวัติการขาดประจำเดือน
ประวัติเลือดออกทางช่องคลอด
อาการปวดท้องน้อย
ประวัติการแท้ง
ตรวจร่างกาย
พบเลือดหรือชิ้นส่วนเนื้อทารก
อาการปวดท้องน้อย
ขนาดมดลูกเล็กกว่าอายุครรภ์
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผลทดสอบการตั้งครรภ์
Ultrasound
ผลการตรวจเลือดและส่วนประกอบของเลือด
คือ การมีเลือดออกทางช่องคลอดในระยะแรกของการตั้งครรภ์ ก่อนอายุครรภ์28สัปดาห์
เลือดออกในระยะหลังของการตั้งครรภ์
รกเกาะต่ำ
**
คือ ภาวะการเกาะของรกเกาะต่ำลงจากปกติ
ชนิดของรกเกาะต่ำ
เกาะต่ำแต่ยังไม่ถึงปากมดลูก (low-lying placenta previa)
คือ รกเกาะบริเวณส่วนล่างของผนังมดลูก
เกาะต่ำที่ขอบของรกติดที่ขอบ internal os พอดี (Placenta previa marginalis)
คือ อยู่ชิดกับรูเปิดด้านในของปากมดลูก อาจทำให้มีเลือดออกจากทางช่องคลอดได้
เกาะต่ำและเลยบางส่วนของปากมดลูก (Placenta previa partailis)
คือ รกปกคลุมส่วนที่เป็นรูเปิดด้านในของปากมดลูกบางส่วน
เกาะต่ำและปิดปากมดลูกทั้งหมด (Placenta previa partialis)
คือ รกปกคลุมส่วนที่เป็นรูเปิดด้านในทั้งหมด
สาเหตุและปัจจัย
มารดาอายุมากกว่า35ปี
มีประวัติคลอดบุตรหลายครั้ง (Multiparity)
เคยมีประวัติรกเกาะต่ำมาก่อน
เคยได้รับผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้องหรือป่าตัดมดลูก
เคยตั้งครรภ์แฝด
เคยแท้งบุตร
มดลูกหดรัดตัวมากผิดปกติ
ทารกอยู่ในที่ที่ผิดปกติ
ความผิดปกติของรก
ภาวะรกเกาะฝังแน่น (Placenta previa)
มีความผิดปกติของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยง decidua
อาการและอาการที่แสดง
มีเลือดออกทางช่องคลอดโดยไม่เจ็บปวด (painless bleeding)
เลือดที่ออกมาให้เห็นจะได้สัดส่วนกับอาการของหญิงตั้งครรภ์
มดลูกนุ่มตามปกติ กดไม่เจ็บคลำทารกได้ชัดเจน และฟังผลการเต้นของหัวใจทากชรกได้ชัดเจน
การวินิจฉัย
ประวัติการมีเลือดออกทางช่องคลอดในระยังหลังของการตั้งครรภ์โดยไม่มีอาการเจ็บครรภ์
ตรวจทางหน้าท้องคลำมดลูกได้นุ่ม คลำพบว่าทารกในครรภ์อยู่ในท่าปกติ
การตรวจทางช่องคลอด
Speculum examination ควรทำเมื่อเลือดหยุดเเล้วและอายุครรภ์มากกว่า 36 สัปดาห์
Double set up pelvic examination ในห้องผ่าตัด
ตรวจด้วย Ultrasonography ในรายที่เลือดออกไม่มาก
แนวทางการรักษา
รับไว้ในโรงพยาบาลทุกราย
งดตรวจภายใน
ในกรณีที่เลือดออกไม่มาก ให้รักษาแบบประคับประคอง (conservative management)
ในกรณีที่รักษาแบบประคับประคอบแล้วไม่มีเลือดออกเป็นเวลา 48-72 ชั่วโมง สามารถให้กลับไปพักผ่อนที่บ้านได้
กรณีต้องยุติการตั้งครรภ์ การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องเป็นวิธีการที่เหมาะสมที่สุด
การทำให้ครรภ์สิ้นสุด
คลอดทางช่องคลอด ในรายที่รกเกาะปากมดลูกด้านหน้าเพียงบางส่วน
การผ่าคลอดทางหน้าท้อง ปลอดภัยมากกว่า
การวางแผนการพยาบาลมารดาที่มีภาวะรกเกาะต่ำ
แผนการพยาบาลมารดาที่มีภาวะรกเกาะต่ำในระยะก่อนคลอดหรือระหว่างการรักษาแบบรอดูอาการ
แผนการพยาบาลมารดาที่มีภาวะรกเกาะต่ำในระยะหลังคลอดหรือภายหลังการรักษาแบบรีบด่วน
เป้าหมายและการพยาบาล
มารดามีความสุขสบายขึ้น
มารดาไม่ตกเลือดหลังคลอดบุตรและมดลูกมีการหดรัดตัวดี
มารดาไม่เกิดภาวะติดเชื่อในระบบสืบพันธ์ุ
มารดามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตนหลังคลอด/หลังผ่าตัด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ลักษณะเลือดที่ออก
Revealed Hemorrhage
คือ รกลอกตัวไหลออกมาทางปากมดลูกและช่องคลอด
Comcealed Hemorrahge
คือ เลือดคั่งอยู่หลังรกไม่ออกทางช่องคลอด
Mixed Hemorrhage
คือ เลือดออกจะแทรกอยู่ระหว่างรกกับผนังมดลูก
ระดับความรุนแรงของการรกลอกตัวก่อนกำหนด
ระดับ0 ไม่มีอาการเจ็บปวด
ระดับ1 รกลอกตัวเล็ฏน้อยแล้วหยุดไป มีอการปวดท้องเล็กน้อย มีเลือดออกเล็กน้อย
ระดับ2 มีอาการปวดท้องมากขึ้น กดเจ็บที่มดลูกความดันโลหิตเปลี่ยนแปลง FHSผิดปกติ
รดับ3 ปวดท้องรุนแรงมาก มารดามีอาการช็อก มดลูกหดรีดตัวตลอดเวลา การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ ทารกมักเสียชีวิต
สาเหตุ
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
มดลูกลดขนาดอย่างรวดเร็ว
การกระทบกระแทกทางหน้าท้อง
มีผลจากหัตถการของแพทย์
สายสะดือสั้น
มดลูกผิดปกติ
มารดาอายุมากกว่า35ปี
การประเมินมารดาที่มีภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด
อาการ
มีเลือดออกทางช่องคลอด
ปวดท้องและปวดหลัง
อาการเหมือนเจ็บท้องคลอด
เลือดขังตัวอยู่ในมดลูก
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Ultrasound
CBC พบความผิดปกติการแข็งตัวของเลือด
แนวทางการรักษา
หยุดการตั้งครรภ์
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
วิธีการคลอด
ผ่าตัดทางหน้าท้อง
คลอดทางช่องคลอด
ภาวะแทรกซ้อน
ด้านมารดา
การเสียเลือดและภาวะช็ฮก
การแข็งตัวของเลือดเปลี่ยนแปลง
ภาวะไตวาย
Couvelaire Uterusมีเลือดแทรก
Sheehan's syndrome
Transfusion Disease
ด้านทารก
การแลกเปลี่ยนออกซิเจนลดลง เสี่ยงต่อทารกเสียชีวิต
การพยาบาล
อยู่กับผู้ป่วยและให้กำลังเพื่อคลายความวิตกกังวล
สังเกตและบันทึกปริมาณเลือดออก
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ตรวจและเตรียมเลือด
บันทึกการเข้าและออกของสารน้ำ
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ประเมินFHS
เตรียมการคลอดในกรณีต้องยุติการตั้งครรภ์