Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสุขภาพตาม Geriatric syndromes - Coggle…
การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสุขภาพตาม Geriatric syndromes
Instability
กลไกควบคุมการทรงตัว
และภาวะหกล้ม
ระบบรับความรู้สึก
Vestibular
Hair cell ตัวจับการเคลื่อนไหวของศรีษะสัมพันธ์กับการเคลื่อนไหวของร่างกายมีความหนาแน่นลดลง เกิดอาการเดินเซได้ง่าย
ระบบการมองเห็น
คมชัดลดลง รับรู้มิติความลึกของภาพ ความไวในการปรับสายตา ลานสายตาแคบลง โรคทางตา เช่น ต้อต่างๆ
ระบบรับความรู้สึกทางกาย
มีการลดลงของการรับความรู้สึกทางกาย การรับรู้ตำแหน่ง การรับรู้เคลื่อนไหวของข้อ
ระบบประสาทส่วนกลาง
ประมวลผลการรับรู้ วางแผน ตัดสินใจช้าลง
ระบบเคลื่อนไหวและการตอบสนอง
Reaction ลดลง เลือกตอบสนองไม่เหมาะสม เดาความสามารถในการจัดการกับสิ่งแวดล้อมที่ผิดพลาด
ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยเสี่ยงภายใน
(Intrinsic risk factor)
อายุที่มาก
เพศหญิง
โรคประจำตัว
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
ระบบประสาทและการรู้คิด
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
กล้ามเนื้อขาอ่อนแรง
การทรงตัวและการเดินบกพร่อง
ระบบการรับความรู้สึกผิดปกติ
ความบกพร่องของการรู้คิด
พฤติกรรมที่เสี่ยงอันตราย
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้
ประวัติเคยหกล้มมาก่อน
ความกลัวของภาวะหกล้ม
ผลไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
ปัจจัยเสี่ยงภายนอก
(Extrinsic risk factor)
การใช้อุปกรณ์ช่วยเดินที่ไม่ถูกต้องและไม่เหมาะสม
สภาพแวดล้อมในบริเวณที่พักอาศัยที่ไม่ปลอดภัย เช่น พื้นลื่น
รองเท้าที่ไม่เหมาะสม เช่น รองเท้าแตะ มีส้น
การมีสัตว์เลี้ยงในบ้าน
การประเมินความเสี่ยงองค์รวม
ซักประวัติ
จำนวนครั้ง สถานที่ ลักษณะการหกล้ม
ทบทวนยาที่ใช้จากแพทย์และซื้อรับประทานเอง
ทบทวนปัจจัยเสี่ยง
ตรวจร่างกาย
ระบบประสาท:การรู้คิด ความผิดปกติ
ประเมินลักษณะและท่าทางการเดิน
ประเมิน motor power และ range of motion
ตรวจเท้าและรองเท้า
ตรวจระบบหัวใจและหลอดเลือด : จังหวะการเต้นของหัวใจ ความดันเลือดในท่าต่างๆ
ประเมินสายตาและการมองเห็น
ประเมิน ADL
ประเมินอุปกรณ์ช่วยเดิน ขณะเยี่ยมบ้าน
ประเมินระดับความสามารถ : พลิกตะแคงตัว ลุกนอนนั่งยืน
Functional mobility test
timed up and go test
30 second chair stand
4 stage balance
ประเมินสภาพแวดล้อมที่บ้านรวมถึงความปลอดภัย
ความเสี่ยงของการเกิดกระดูกพรุนและกระดูกหัก
การรักษาและป้องกันอย่างครอบคลุม
หลักการสู่เป้าหมาย
เคยหกล้ม
คัดกรองค้นหาปัจจัยเสี่ยง ประเมินความเสี่ยง สาเหตุและการป้องกันการหกล้มซ้ำ
ไม่เคยหกล้ม
คัดกรองค้นหาปัจจัยเสี่ยงของภาวะหกล้ม
ต้องทำ
หลังประเมินปัจจัยเสี่ยง
ออกกำลังกายเพิ่มความแข็งแรง ทรงตัว
ขาดvit D ควรได้รับVit D เสริม อย่างน้อย 800 IU ต่อวัน
ประเมินสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยและปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
รักษาและป้องกันที่
ควรทำ
ทบทวนการใช้ยา งดหรือลดยาที่เสี่ยงต่อการหกล้ม
แก้ไขปัญหาการมองเห็น
แก้ไขปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือดจาก carotid sinus syndrome
ขาดvit D และเสี่ยงต่อการหกล้ม ควรได้รับVit D เสริม อย่างน้อย 800 IU ต่อวัน
การรักษาและป้องกันที่
น่าทำ
ตรวจรักษาปัญหาที่เท้าและให้การรักษาที่เหมาะสม
ควรได้รับคำแนะนำเรื่องรองเท้าที่เหมาะสม
ให้ความรูู้ โดยปรับให้เหมาะกับระดับความรู้คิดและภาษา
ไม่ควรใช้ multifocal lens ในการเดินหรือขึ้นบันได
ความหมาย
เหตุการณ์ที่ร่างกายบุคคลหนึ่งล้มลงไปอยู่ที่พื้นหรือพื้นที่ต่ำกว่าร่างกายโดยไม่ตั้งใจ
มักเป็นสัญญาณเตือนอาการผิดปกติที่บุคลากรทางการแพทย์ต้องหาสาเหตุ
ให้การรักษา ป้องกันการเกิดซ้ำ
มักเกิดปฎิกิริยาระหว่างปัจจัยเสี่ยงภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแต่ละคน
Immobility
ความหมาย
การสูญเสียความสามารถในการเคลื่อนไหว เป็นกลุ่มอาการที่เป็นความถดถอยสมรรถภาพร่างกายจากการจำกัดการเคลื่อนไหวร่างกาย จาก ร่างกาย จิตใจ สังคม
ผลกระทบ
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อฝ่อลีบและอ่อนแรง
ข้อยึดติด
กระดูกบางหรือพรุน
ข้อเสื่อม
หลักการดูแล
เฝ้าระวังและค้นหาผู้สูงอายุที่เปลี่ยนแปลงด้านความแข็งแรงและความทนทานกล้ามเนื้อ
หาสาเหตุของการมีกล้ามเนื้อฝ่อลีบและอ่อนแรงว่าเกิดจากการถดถอยของการลดการเคลื่อนไหวหรือภาวะโรคอื่นร่วมด้วย
ค้นหาสาเหตุที่ผู้สูงอายุลดกิจกรรม นอนติดเตียงว่าสามารถแก้ไขได้หรือไม่
แนะนำผู้สูงอายุป้องกันภาวะถดถอยโดยการออกกำลังกายอย่างถูกวิธี
ป้องกันกล้ามเนื้ออ่อนแรงและข้อยึดติด
จัดท่าทาง ไม่นำหมอนรองใต้เข่าเป็นประจำ
ฝึกเคลื่อนไหวด้วยตัวเอง
ออกกำลังกาย 10-15 นาที 3 ครั้งต่อสัปดาห์
ออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
รักษาข้อยึดติดจากกล้ามเนื้อหดนรั้งในระยะเริ่มต้น
ออกกำลังกาย 20-30 นาที ยืดค้างในช่วงท้ายองศา
ให้ความร้อน เช่น แผ่นประคบร้อน อัลตราซาวน์
ข้อยึดติดมากหรือหดรั้งมานาน
ยืดกล้ามเนื้อและข้อต่อประมาณ 20-30 นาที ร่วมกับ ultrasound
ใส่เฝือกเพื่อดัดมุมองศา
กายอุปกรณ์
แนะนำผ่าตัด
ป้องกันและรักาาข้อยึดติดจากเนื้อเยื่อรอบข้อต่อและข้อต่อ
จัดท่าทางเหยียดข้อให้มากเท่าที่ไม่เจ็บ
range of motion exercises
CPM ในผู้ป่วยที่ติดเชื้อหรือผ่าตัด
ป้องกันและรักษาภาวะกระดูกพรุนและกระดูกบาง
resistance exercise ของกล้ามเนื้อback, hip extensors abductors and shoulder girdle
กระตุ้นให้ทำกิจกรรมากขึ้น
weight bearing exercise อย่างสม่ำเสมอ ใช้แรงกระแทกต่ำ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ประสิทธิภาพการทำงานหัวใจลดลง
การป้องกัน
ออกกำลังกายท่านั่งหรือยืน
ใช้เครื่องมือกระตุ้นให้เกิดเลือดในหลอดเลือดดำไปกองส่วนขา
ภาวะความดันเลือดลดลงเมื่อเปลี่ยนท่าทาง
การป้องกัน
ออกกำลังกาย
ใช้ผ้าพันยืดประคองขา 2 ข้าง ลดการบวมคั่งของสารน้ำที่ขา
ปรับหัวเตียง
ใช้ยากลุ่ม sympaothomimetic / fludrocortisone
ภาวะหลอดเลือดดำอุดตัน
การป้องกัน
ออกกำลังกายกล้ามเนื้อขา
ใช้ผ้าพันยืดพันขาเป้นระยะ
external intermittnt leg compression
ยกขาสูงเล็กน้อยขณะนอนราบ
ให้ยา low dose warfarin ในรายที่เสี่ยงสูง
ระบบผิวหนัง
แผลกดทับ
การป้องกัน
พลิกตะแคงตัว ทุก 2-3 ชั่วโมง
ลดสิ่งกระตุ้นที่ทำให้เกิดแผล
ดูแลทำความสะอาดผิวหนัง การขับถ่าย
จัดท่านอนและนั่งให้เหมาะสม
ระบบหายใจ
การยึดของกล้ามเนื้อทรวงอก, กระบังลมเคลื่อนไหวลดลงในท่านอน , ประสิทธิภาพการไอลดลง ทำให้ปอดแฟบ
การป้องกัน
ฝึกหายใจเข้าออกลึกๆ
ฝึกการไอ ระบายเสมหะ
กระตุ้นให้ลุก ช่วยเหลือตนเอง
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ปัสสาวะคั่งค้าง ปัสสาวะเล็ด นิ่วในทางเดินปัสสาวะ
การป้องกัน
จัดท่าให้นั่งบ่อยๆ
หลีกเลี่ยงการถ่ายปัสสาวะท่านอน
บางรายต้องสวนปัสสาวะดูปริมาณที่ค้างในกระเพาะปัสสาวะ
ระบบทางเดินอาหาร
ท้องผูก เบื่ออาหารถ่ายลำบาก
การป้องกัน
ดื่มน้ำให้เพียงพอ
ลดหรือเลี่ยงยาที่ทำให้ท้องผูก
ขับถ่ายให้เป็นเวลา
กระตุ้นให้เริ่มทำกิจกรรมยืนเดิน
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
พิจารณายาถ่ายเมื่อจำเป็น
ระบบประสาท
การกดทับเส้นประสาท โดยเฉพาะ fibula และ ulnar
การป้องกัน
กระตุ้นให้ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
นันทนาการบำบัด
กระตุ้นให้มีส่วนรวมในครอบครัวและเพื่อนฝูง
กระตุ้นให้ทำกิจกรรมร่างกายเป็นประจำ
ซึมเสร้า หงุดหงิด สับสน
กลุ่มเสี่ยง
พฤติกรรมนั่งๆนอนๆไม่ออกกำลังกาย
ภาวะพึ่งพิงแต่ขาดผู้ดูแล
ได้รับการผ่าตัดหรือใส่เฝือกเนื่องจากอุบัติเหตุหรือกระดูกหัก
มีอาการอ่อนแรง
Intellectual impairment
ความหมาย
การบกพร่องของการรู้คิด ส่งผงต่อการทำงานของสมองขั้นสูงในภาพรวม โดยเฉพาะกระบวนการกิจกรรมทางเชาวน์ปัญญา
การรู้คิด คือ ขบวนการที่มีกรรับรู้ข้อมูลจากสิ่งกระตุ้นภายนอกของสมอง เช่น มองเห็น ได้ยิน สัมผัส
หน้าที่ของสมองที่
เกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจ (cognition)
การมีสมาธิและสามารถคงความสนใจไว้ได้เมื่อมีสิ่งกระตุ้นหลายอย่างในเวลาเดียวกัน(Complex attention)
การจัดการการบริหารให้สิ่งต่าง ๆ เป็นไปได้อย่างราบรื่น (Executive function)
การวางแผน การตัดสินใจ ความยับยั้งชั่งใจ
ขบวนการเรียนรู้และความจําทั้งความจําระยะสั้น ระยะยาว และองค์ความรู้ต่าง ๆ .(Learning and memory)
ความสามารถในการใช้ภาษา (Language )
การเรียกสิ่งของ การใช้คําศัพท์อย่าง
ถูกต้อง การจัดเรียงรูปประโยค
การรับรู้ร่วมกับการเคลื่อนไหว (Perceptual-motor function )
การจําทิศทาง
การขับรถการใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมืออย่างถูกต้อง
การเข้าใจและแสดงออกทางอารมณ์และพฤติกรรมอย่างเหมาะสมตามบริบทของสังคม(Social cognition)
Neurocognitive Disorders หรือ NCD
ภาวะซึมสับสนเฉียบพลัน (Delirium)
Minor Neurocognitive Disorder
Major Neurocognitive Disorder หรือกลุ่มอาการสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ (Dementia)
การบกพร่องของการรู้คิดชนิดไม่สามารถระบุได้ (Unspecified cognitive disorder)
Insomnia
ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการนอนหลับ
นอนหลับปกติมี 2 ระยะ
ระยะที่ไม่มีการกลอกลูกตาอย่างรวดเร็ว (Non-Rapid Eye
Movement (NREM) Sleep)
ระยะที่มีการกลอกลูกตาอย่างรวดเร็ว (Rapid Eye Movement (REM)Sleep)
ปัจจัยการเปลี่ยนแปลงด้านการนอนหลับที่เกิดจากกระบวนการสูงอายุโดยตรง
เปลี่ยนแปลงของโครงสร้างทางประสาทกายวิภาคที่มีผลต่อการนอนหลับ
thalamus และ cortex ทำหน้าที่ลดลง
เปลี่ยนแปลงระยะการตื่น ระยะการหลับแบบ NREM sleep และ ระยะ
การหลับแบบ REM sleep ตลอดจนความต่อเนื่องของการนอนหลับ
เปลี่ยนแปลงทั้งช่วงเวลาปริมาณและคุณภาพการนอนหลับในผู้สูงอายุ
ปัจจัยการเปลี่ยนแปลงด้านการนอนหลับที่ไม่เกิดจากกระบวนการสูงอายุโดยตรง
ปัจจัยด้านสุขภาพ (medical factors) multiple pathology
ปัจจัยด้านการใช้ยา (medication factors) polypharmacy
ด้านจิตใจ/จิตสังคม (emotional/ psychosocial factors) เช่น ความพึงพอใจในชีวิต การอยู่ร่วมกับครอบครัว
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม (environmental factors) เช่น เสียง
ปัจจัยด้านพฤติกรรม (behavioral factors) เช่น การจัดการความเครียด พฤติกรรมเกี่ยวกับเสียงรบกวน
ปัญหาการนอนหลับผิดปกติที่พบบ่อย
ปัญหาการนอนไม่หลับ (insomnia)
1) นอนหลับยาก
2) หลับๆ ตื่นๆ หรือตื่นบ่อย
3) ตื่นนอนเร็วกว่าปกติที่ควรจะเป็น
ความผิดปกติของการหายใจที่สัมพันธ์กับการนอนหลับ (sleep-related breathing disorders)
(obstructive sleep apnea: OSA)
การนอนหลับมากผิดปกติจากสาเหตุทางระบบประสาทส่วนกลาง (hypersomnias of central origin หรือ central disorders of hypersomnolence)
ความผิดปกติของวงจรการนอนหลับ (circadian rhythm sleep disorders)
นอนหลับในเวลาเร็วขึ้น ประมาณ 20-21 น. และตื่นเช้าตรู่ประมาณ 4-5 น
พฤติกรรมหรือการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาผิดปกติที่เกิดในช่วงของการนอนหลับ(parasomnias)
ส่งเสียงผิดปกติในช่วง
นอนหลับ
การเคลื่อนไหวผิดปกติที่สัมพันธ์กับการนอนหลับ (Sleep-related movement disorders)
ขากระตุกขยับผิดปกติ
การประเมินปัญหาการนอนหลับ
ประเมินทางการพยาบาลการรวบรวมข้อมูล
ข้อมูลอัตนัย
ข้อมูลปรนัย
แบบประเมินเพื่อประเมินหาสาเหต
แบบทดสอบ Thai Mental StateExamination (TMSE)
แบบทดสอบ สภาพสมองเบื้องต้นฉบับภาษาไทย (MMSE-Thai 2002), แบบทดสอบ Thai Mental State
โรคทางกาย แบบประเมินการรู้คิด
แบบประเมินการนอนหลับ
แบบทดสอบระดับความง่วงนอน (Epworth sleepiness scale: ESS)
Modified Berlin Apnea Questionnaire
แบบประเมินภาวะหยุดหายใจขณะหลับ STOP-Bang
บทบาทพยาบาลในการจัดการปัญหา
การใช้ยา
เริ่มใช้ยาตามแผนการรักษา จากระดับเล็กน้อยก่อนแล้วจึงปรับขนาดขึ้นตามอาการ ใช้ยาในระยะเวลาสั้นประมาณ 3-4 สัปดาห์
และใช้ยา 2 ถึง 4 ครั้งต่อสัปดาห์ และควรใช้ยาที่มีฤทธิ์ของยาระยะสั้น
ไม่ใช้ยา
ใช้สุขบัญญัติการนอนหลับ (Sleep hygiene education)
การให้ความรู้ในการปฏิบัติตัวในเรื่องการส่งเสริมการนอนหลับ เพื่อลดปัจจัยด้านตัวบุคคลและสิ่งแวดล้อม
การรักษาด้วยการควบคุมปัจจัยสิ่งกระตุ้น (Stimulus Control Therapy)
งดการใช้เตียงเพื่ออ่านหนังสือ
การจำกัดการนอนหลับ (Sleep Restriction)
การบำบัดด้วยการผ่อนคลายและการจินตนาการภาพ (Relaxation therapy andmagery)
การเดิน ไทชิ จีกง
การบำบัดพฤติกรรมด้วยปัญญาสำหรับการนอนไม่หลับ (Cognitive behavioraltherapy for insomnia [CBT-I])
ปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมและการรับรู้
Inanition
ผลกระทบ
อัลบูมินในเลือดตํ่า
อาการขาบวม โดยเฉพาะผู้ที่มีเส้นเลือดขอดที่ขา และภาวะความดันโลหิตตํ่าจากการเปลี่ยนท่าทาง (postural hypotension)
มวลกล้ามเนื้อลดลงและการทํางานของกล้ามเนื้อบกพร่อง (sarcopenia)
เกิดภาวะหกล้มและภาวะกระดูกหัก
ภาวะโลหิตจาง
ระบบภูมิคุ้มกันบกพร่อง
การติดเชื้อวัณโรค เชื้อรา
การทํางานด้านการคิดและหาเหตุผลของสมอง (cognitive function)เสื่อมลง
การหายของแผลช้าลง
อุบัติการณ์และความชุก
ผู้สูงอายุชายส่วนใหญ่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงตามอายุ
อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ
เปรียบเทียบในแต่ละกลุ่มอายุเดียวกันระหว่างชายและหญิง ผู้สูงอายุชายในกลุ่มอายุ60 - 69 ปี จะมีภาวะขาดโปรตีนและพลังงานมากกว่าในหญิงเสมอ
ผูู้สูงอายุหญิงมีาวะโภชนาการที่ดีกว่าในผู้สูงอายุชาย โดยเฉพาะกลุ่มที่อายุยังไม่มาก พบความซุกของภาวะขาดโปรตีนและพลังงานมากขึ้นเมื่ออายุมากขึ้นเกือบทุกภาคอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ
ลักษณะทางเวชกรรมที่พบบ่อย
ปัจจัยเสี่ยง
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาเนื่องจากความชรา
เบื่ออาหารเนื่องจากความชรา
ความสามารถในการแยกกลิ่นและรสของอาหารลดลง
อาการปากแห้ง (xerostomia)
การเคลื่อนตัวของอาหารในกระเพาะอาหารช้าลง
หลั่งกรดในกระเพาะอาหารลดลง
การสูญเสียความสามารถในการประกอบอาหาร
ด้านสังคม
เศรษฐฐานะที่ลดตํ่าลง ไม่มีรายได้เพิ่มจากอาชีพ
ขาดความเกื้อหนุนทางสังคม
ขาดความรู้ในด้านโภชนาการ
การอยู่คนเดียวโดยลําพัง
ด้านสุขภาพจิต
การสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก (bereavement)
ภาวะซึมเศร้า
ถูกวินิจฉัยบ่อยที่สุดของปัญหานํ้าหนักตัวลดลงที่แผนกผู้ป่วยนอกของผู้สูงอายุ
ภาวะสมองเสื่อม
ด้านสุขภาพทางกาย
โรคของระบบประสาทและสมอง
โรคพาร์กินสัน โรคหลอดเลือดสมอง ภาวะสมองเสื่อม
พยาธิสภาพในช่องปากและความผิดปกติในการกลืนอาหาร
แผลอักเสบเรื้อรังในช่องปาก
โรคของเหงือกและฟัน ปากแห้ง ฟันปลอม
ผลไม่พึงประสงค์จากยา
ยาที่มีทําให้มีอาการเบื่ออาหาร เช่น ดิจอกซิน (digoxin) ทีโอฟิลลีน
(theophylline) ยาปฏิชีวนะ ยาเคมีบําบัด ยาที่ทําให้ง่วงซึม
โรคของทางเดินอาหารและการดูดซึม
โรคลําไส้อักเสบเรื้อรัง (chronic inflammatory
bowel disease) โรคตับอ่อนอักเสบเรื้อรัง
ภาวะที่ร่างกายมีความต้องการสารอาหารเพิ่มขึ้น
โรคต่อมไทรอยด์เป็นพิษ โรคเนื้องอก
ของต่อมหมวกไตส่วนใน (pheochromocytoma)
พยาธิสภาพที่ทําให้เกิดภาวะขาดโปรตีนและพลังงานจากหลายสาเหต
โรคหลอดลมอุดกั้นเรื้อรัง ภาวะหัวใจวายชนิดเลือดคั่ง
พยาธิสภาพอื่น ๆ
ภาวะแคลเซียมสูงในเลือด
อาการที่เด่นชัด คือ อาการเบื่ออาหาร การมีนํ้าหนักตัวลดลง
ไม่เด่นชัด คือ มีการติดเชื้อในร่างกาย มีอาการหกล้มเนื่องจากกล้ามเนื้ออ่อนแรง
แนวทางการวินิจฉัยโรคและการดูแลรักษา
นํ้าหนักตัวถูกใช้เป็นตัวชี้วัดที่สําคัญ
นํ้าหนักตัวลดลงจากนํ้าหนักตัวเดิมร้อยละ 5หรือมากกว่า (โดยไม่ได้ตั้งใจลดนํ้าหนักตัว) ในช่วง 6 เดือน
ค่าดัชนีมวลกาย (body mass index : BMI) ตํ่ากว่า 18.5 กก./ตารางเมตร บ่งถึงภาวะขาดโปรตีน
ภาวะขาดโปรตีนและพลังงานด้วย Mindex (หญิง) Demiquet (ชาย) เท่ากับ 55.95 (หรือประมาณ 56) กก.ต่อเมตร และ 75.6 (หรือประมาณ 76) กก.ต่อตารางเมตร
hemoglobin และค่าอัลบูมินในซีรั่ม
โคเลสเตอรอลรวม (total cholesterol) ที่น้อยกว่า 156 มก./ดล
การตรวจคัดกรอง
ซักประวัติ
อยู่ลําพังคนเดียว อาการเบื่ออาหารนํ้าหนักลด ปริมาณอาหารและความ
หลากหลายของชนิดอาหารที่รับประทานอาหาร
การติดตามนํ้าหนัก ส่วนสูง หรือความยาวช่วงแขน (demi span)
หลีกเลี่ยงหรือระมัดระวังการใช้ยาที่อาจมีผลข้างเคียงที่ทําให้ผู้สูงอายุมีอาการเบื่ออาหาร
ให้สุขศึกษาทางโภชนาการเป็นระยะ
ซักประวัติปัจจัยทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอและให่้คําแนะนําหรือแก้ไขในปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
เครื่องมือมาตรฐานที่ใช้คัดกรองผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงสูงต่อภาวะขาดสารอาหาร (Mini-Nutritional Assessment: MNA)
ทําการประเมินต่อไป
17 - 23.5 เสี่ยงต่อภาวะขาดสารอาหาร
น้อยกว่า 17 รมีภาวะทุพโภชนาการ
คัดกรอง
น้อยกว่า 11 เสี่ยงต่อขาดสารอาหาร
มากกว่า 12 ปกติ
MEALS - ON - WHEELS
ค้นหาสาเหตุที่พบบ่อยของภาวะขาดสารอาหารใน
ผู้สูงอายุในเวชปฏิบัติทั่วไป
M - medication
การได้รับยาที่อาจทําให้เบื่ออาหาร เช่น digoxin, theophylline ยาที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
L - late-life paranoia
การถูกโดดเดี่ยวจากสังคม
S - swallowing disorders
ความผิดปกติในการกลืน
A - alcoholism
ภาวะติดสุราเรื้อรัง
O - oral problem
ปัญหาช่องปาก โรคติดเชื้อในช่องปาก ฟันเทียมที่หลวม
E - emotion
อารมณ์ที่ผิดปกติ ภาวะซึมเศร้า โรคจิต (psychosis์)
N - no money
เศรษฐฐานะยากจน
W – wandering
ภาวะสมองเสื่อม
H - hyperactivity/ hypermetabolism
การเคลื่อนไหวหรือเมทาโบลิสซั่มมากผิดปกติ เช่น
ผู้ที่มีอาการสั่นกระตุก (hypermetabolism, tremor)
E- enteral problem
ปัญหาการดูดซึมสารอาหาร เช่น ท้องร่วงเรื้อรัง
E- eating problem
ความเสื่อมของการรับรสหรือได้กลิ่นอาหาร ภาวะที่ไม่สามารถตัก
อาหารรับประทานได้เอง
L - low nutrient diet
การพยายามรับประทานอาหารที่มีไขมันตํ่า หรือไม่เค็ม หรืออาหารเบาหวาน
S - shopping problem
ปัญหาในการไปจ่ายตลาด เช่น สูญเสียความสามารถในการเดิน ไม่ปลอดภัย
Iatrogenesis
ผลเสียของการ admit
การรักษา
การบำบัดด้วยการฉีดเข้าเส้นเลือด
การสวนปัสสาวะ
สายให้อาหารทางจมูก
การฟอกไต
การถ่ายเลือด
ยา
ความผิดพลาดจากการสั่งจ่ายยา
ปฏิกิริยาระหว่างยา
การแพ้ยา
ผลข้างเคียงจากยา
การผ่าตัด
ผลเสียจากการดมยา
โรคติดเชื้อ
ความผิดปกติทางเมตาบอลิก
ภาวะขาดสารน้ำ
นอนบนเตียงนานๆ
hypovolemia และ hypotension
ความผิดปกติของแคลเซียม
อุจจาระอุดตัน
ภาวะลิ่มเลือดอุดตัน
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
ติดเชื้อในโรงพยาบาล
หกล้ม อุบัติเหตุในโรงพยาบาล
ปัจจัยเสี่ยง
สมรรถภาพของอวัยวะต่างๆ ลดลงในผู้สูงอายุ
การเกิดผลไม่พึงประสงค์จากยาได้ ง่าย เช่น จำนวนเซลประสาท เส้นใยประสาทและสารสื่อประสาทลดลง อาจทำให้เกิดภาวะซึมสับสน เฉียบพลัน (delirium) ได้ง่าย
มีพยาธิสภาพหลายชนิดในเวลาเดียวกัน (multiple pathology))
ทำให้มีโอกาส ได้รับยาหลายชนิด และทำให้เกิดปฏิกิริยาระหว่างยากับโรค (drug-disease interaction) หรือปฏิกิริยา ระหว่างยาด้วยกัน (drug-drug interaction)
ผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาเนื่องจากความชรา
การเปลี่ยนแปลงทาง เภสัชจลนศาสตร์และเภสัชพลศาสตร์ การดูดซึมยา การกระจายตัวของยา เมตาบอลิซึมของยาและการกำจัดยา จำนวนและความไวของตัวรับ (receptor) เปลี่ยนแปลงไป ระดับยาและการตอบสนองต่อยาที่ไม่เหมือนผูป่วยอายุน้อยกว่า
อาการและอาการแสดงบางชนิดอาจเกิดได้จากทั้งการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
ความขราและจากพยาธิสภาพ ทำให้แพทย์อาจแปลผลลักษณะทางคลินิกผิดพลาดได้
มักมีปัญหาในการสื่อสารกับคนรอบข้าง
ปัญหาในการมองเห็นและการได้ยิน หรือมีการบกพร่องของการรู้คิด (cognitive impairment)
อาการที่ไม่จำเพาะหลายอาการในเวลาเดียวกัน
อาจทำให้วินิจฉัยโรคผิดพลาดได้
อาการและอาการแสดงทางคลินิกที่ไม่จำเพาะ
มีแนวโน้มของการรับประทานยาสมุนไพรหรือยาที่จัดหาเองมากกว่า
ปัจจัยเสี่ยงที่เกิดจากการรักษาที่ไม่เหมาะสม
นำผลการวิจัยในผู้ป่วยสูงอายุที่เป็นกลุ่มอายุน้อย ที่อายุอยู่ในช่วง 60-75 ปี มาใช้กับผู้ป่วยสูงอายุที่เป็นกลุ่มอายุมากที่มีอายุมากกว่า 75 ปีขึ้นไป
การสั่งยาเพื่อรักษาบางอาการที่ไม่จำเป็นต้องใช้ยา
สั่งยาเพื่อลดอาการโดยไม่พยายามหาสาเหตุของอาการนั้น
พยายามให้การสืบค้นทางห้องปฏิบัติการและการรักษาที่ก้าวหน้าที่สุด ซึ่งอาจจะไม่ใช่ การรักษาที่เหมาะสมที่สุด (optimat treatment) สำหรับผู้ป่วยรายนั้นๆ
ลังเลที่จะหยุดยาที่ผู้ป่วยกำลังได้อยู่ และสั่งยาเติมให้ผู้ป่วยโดยไม่ปรับเปลี่ยนยา
ตัวอย่างโรค
adverse drug reaction
ความสามารถถดถอย (functional decline)
ภาวะการสูญเสียความสามารถในการเคลื่อนไหว (immobility)
โรคติดเชื้อแทรกซ้อนในโรงพยาบาล
ภาวะหกล้ม
ปัญหาจากการให้สารน้ำและสารอาหาร
อาการวูบหนกสติ (syncope) และภาวะความดันเลือดต่ำ ภาวะ ความดันเลือดต่ำจากการเปลี่ยนท่าทาง (orthostatic hypotension), vasovagal syncope
ปัญหาจากการแปลผลการตรวจ
โรคในระบบทางเดินอาหาร
ภาวะไตวายเฉียบพลัน
ภาวะซึมสับสนเฉียบพลัน (Delirium)
ปัญหาแทรกซ้อนจากการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ภาวะขาดสารน้ำและขาดสารอาหาร
บทบาทและแนวทางป้องกันโรค
ไม่พึงประสงค์จากยา
แนวทางป้องกันโดยผู้ป่วยและญาติ
ชื่อยาและชื่อโรค ตลอดจนชื่อยาที่เคยแพ้ และแจ้งให้แพทย์และเภสัชกรทราบทุกครั้งที่ ต้องได้รับยา
ใช้การรักษาแบบไม่ใช้ยาก่อนเสมอ
รับประทาน ตามแพทย์สั่งอย่างสม่ำเสมอ ติดตามการรักษากับแพทย์เป็นระยะ
นำยาทั้งหมดที่ได้จากทุกแหล่งที่กำลังได้รับอยู่ไปให้แพทย์ตรวจสอบเป็นระยะ
หลีกเลี่ยงการซื้อยามารับประทานเอง รวมทั้งยาสมุนไพร ยาหม้อ ยาลูกกลอน เนื่องจากยา เหล่านี้อาจมีผลเสียต่อร่างกายได้
ตรวจดูวันหมดอายุของยา
ก่อนจะหยุดยาที่ได้รับจากแพทย์ควรปรึกษาแพทย์ให้ทราบถึงเหตุผลที่ต้องการจะหยุดยา
ควรรับการรักษาและติดตามกับแพทย์คนเดิมเนื่องจากจะทราบประวัติการใช้ยาโดยตลอด
อาจใช้กล่องที่จัดยาเป็นรายวัน ทำให้ง่ายต่อการจดจำการรับประทานยา
ผู้ที่มีปัญหาเรื่องความจ้า แพทย์ควรแนะนำให้ผู้ดูแลหรือญาติที่อยู่ด้วยเป็นผู้จัดยาให้ผู้ป่วย
แนวทางป้องกันโดยแพทย์
ประกันผู้ป่วยสูงอายุโดยละเอียดทั้งทางด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต และสังคม เพื่อให้ได้การวินิจฉัยที่ถูกต้องครบถ้วน
พยายามรักษาโรคโดยไม่ใช้ยา (non-pharmacological treatment) เป็นชั้นแรกก่อนเสมอ
แพทย์ผู้ส่งออเดอร์ยา ควรมีความรู้และ ความคุ้นเคยเกี่ยวกับยาตัวนั้นเป็นอย่างดี ตั้งแต่ข้อบ่งชี้ ขนาดยา การบริหารยา การติดตามผลและผลไม่พึงประสงค์จากยาที่อาจเกิดจากยานั้นๆ
ยึดหลัก "start low, go slow” คือเริ่มใช้ยาในขนาดต่ำก่อนแล้วค่อยเพิ่มขนาดยายย่างช้าๆ
หลีกเลี่ยงการใช้ยาหลายชนิด (polypharmacy) โดยไม่จำเป็น
ให้ผู้ป่วยนำยาทั้งหมดที่ได้มาให้แพทย์ตรวจสอบในแต่ละครั้งที่มาพบแพทย์ (brown bag test)
พยายามสั่งยาโดยใช้ชื่อสามัญ (generic name) แทนการใช้ชื่อการค้า (trade name) เพื่อลดการได้ยาซ้ำซ้อน
โรคเรื้อรังควรพิจารณาว่ายาแต่ละตัวที่ผู้ป่วยได้รับอยู่มีข้อบ่งชี้ที่ชัดเจนในขณะนั้น
หยุดยาที่ไม่ทราบผลดีหรือข้อบ่งชี้ที่ชัดเจน
เกิดผลไม่พึงประสงค์จากยาให้เปลี่ยนยาเป็นชนิดที่มีผลไม่พึงประสงค์จากยา น้อยกว่าแทน
พึงระลึกเสมอว่าอาการใหม่ที่ผู้ป่วยแจ้งต่อแพทย์นั้นอาจเป็นผลไม่พึงประสงค์จากยาได้
พยายามยึดหลัก 30's" คือ "one disease, one drug, once-a-day"
สั่งใช้ยาที่ผู้ป่วยสามารถเข้าใจและนำไปปฏิบัติได้ง่าย
หลีกเลี่ยงการสั่งใช้ยาที่ต้องแบ่งเม็ดยาเป็นหลายส่วน
พยายามสั่งยาที่บริหารวันละ 1-2 ครั้งจะดีกว่าวันละหลายครั้ง
คอยตรวจสอบความสม่ำเสมอในการบริหารยาของผู้ป่วย
ใช้ยาที่สามารถบริหารได้สะดวกและเข้าใจได้ง่าย เช่น ให้ยาในขนาดเดิม
สอนญาติและผู้ดูแลผู้ป่วยถึงวิธีการใช้ยาด้วย
ใช้อุปกรณ์ช่วยจำในการใช้ยา เช่น กล่องใส่ยาที่จัดยาเป็นรายวัน
คิดตามการบริหารยาของผู้ป่วยเป็นระยะ ว่ามีความเข้าใจในการบริหารยาที่ถูกต้อง
หลักทั่วไปในการให้การรักษาผู้ป่วยสูงอายุ
ผู้ป่วยมีข้อบ่งชี้ที่จะได้รับการรักษาและเกิดประโยชน์ขัดเจน โดยไม่มีข้อห้ามในการรักษานั้นๆ ควรคำนึงถึงผลดีและผลเสียของการรักษาคู่กันเสมอ
ควรพิจารณาการรักษาด้วยวิธีที่ไม่ใช้ยาก่อน เช่น อาการปวด ท้องผูก นอนไม่หลับ
ให้การรักษาที่ปลอดภัยที่สุด
ผู้ป่วยยอมรับการรักษาที่แพทย์แนะนำ
abuse
ความหมาย
เป็นการกระทำที่ทำให้ผู้สูงอายุได้รับอันตรายทั้งทางร่างกาย และหรือจิตใจจากการกระทำโดยตรง (ศศิพัฒน์ ยอดเพชร , 2545)
การถูกละเลยทอดทิ้งโดยไม่ได้รับการปฎิบัติ ดูแลที่เหมาะสม โดยการกระทำดังกล่าวอาจเป็นการปฎิบัติซ้ำๆ หรือเกิดขึ้นพียงครั้งเดียว ที่มีผู้เกี่ยวข้อง 3 ลักษณะคือ เหยื่อ หรือผู้ถูกกระทำ ผู้กระทำและผู้เกี่ยวข้องรับรู้ (WHO, 2002)
“การกระทำหรือเว้นการกระทำด้วยประการใดๆ จนเป็นเหตุให้ผู้สูงอายุเสื่อมเสียเสรีภาพ หรือเกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจ หรือการกระทำความผิดทางเพศตอผูสูงอายุทั้งนี้โดยคำนึงถึงสภาพจิต หรือพฤติกรรมของผู้สูงอายุ สภาพสังคม สิ่งแวดล้อม (กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ , 2546)
ลักษณะการทารุณกรรม
National Center for Elder Abuse
as cited in Meiner, 2011
Domestic Elder Abuse
ผู้สูงอายุไม่ได้รับการดูแลที่เหมาะสม เกิดจากบุคคลที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับผู้สูงอายุ เช่น คนในครอบครัว หรือ ผู้ดูแล
Institutional Elder Abuse
เกิดขึ้นในสถานพยาบาล หรือบ้านพักคนชรา ที่ผู้สูงอายุถูกกระทำ โดยผู้ดูแลที่ได้รับค่าจ้างหรือทีมสุขภาพที่ให้การดูแล
Self-Neglect หรือ Self-Abuse
การกระทำโดยตัวผู้สูงอายุเองที่ทำร้ายตนเอง หรือเพิกเฉยในการดูแลตนเอง
NCEA, 2006 as cited in
Meiner, 2011
. Physical Abuse
ใช้แรงกระทำให้ผู้สูงอายุไดรับบาดเจ็บต่อร่างกาย เกิดการเจ็บปวด และอาจเกิดความพิการขึ้น
Sexual Abuse
ใช้กำลังบีบบังคับ ข่มขู่ หรือ พฤติกรรมการเอาเปรียบทางเพศ การมีเพศสัมพันธตอผู้สูงอายุซึ่งไมให้ความยินยอม หรือการมีเพศสัมพันธต่อผูสูงอายุที่มีความบกพรองทางจิต
Emotional Abuse
พฤติกรรมที่ทำให้ผู้สูงอายุเกิดความรู้สึกปวดร้าว ตึงเครียด หวาดกลัว รวมทั้งการว่ากล่าว ตำหนิด้วยวาจา การคุกคาม หรือเป็นพฤติกรรมที่ไม่แสดงออกทางวาจา
Financial
เอาประโยชน์จากทรัพยสินเงินทอง หรือ การใช้ทรัพย์สินไปในทางที่ไม่ถูกต้อง
Neglect
ผู้สูงอายุไม่ได้รับความสนใจดูแลช่วยเหลือตามความต้องการ หรือตามความจำเป็นทางด้านร่างกาย หรือด้านจิตใจ หรือปฎิเสธการดูแลผู้สูงอาย
Abandonment
ผู้สูงอายุถูกทอดทิ้งจากผู้ดูแล หรือผู้ที่มีหน้าที่ต้องดูแลผู้สูงอายุ
เช่น ลูก โดยปล่อยให้ผู้สูงอายุอยู่คนเดียวไม่มีผู้ดูแล
Self-Neglect
ผู้สูงอายุทำให้ตนเองมีปัญหาสุขภาพ หรือความปลอดภัย เช่น ไม่ยอมรับประทานยารักษาโรค ไม่รับประทานอาหาร
ปัจจัยที่เป็นสาเหตุของการทารุณกรรม
ปัจจัยภายนอก
ครอบครัวแตกแยก มีการหย่า ร้าง แต่งงานใหม่
ครอบครัวที่มีการใช้ความรุนแรงอยู่ก่อน
ยากจน ฐานะทางเศรษฐกิจไม่ดี
ครอบครัวใหญ่
ปัจจัยด้านผู้สูงอายุ
ขี้บน น่ารำคาญ เข้าข้างลูกคนอื่น (ไม่ยุติธรรม) อยูในภาวะพึ่งพา ช่วยตัวเอง ไมได้มีปัญหาด้านการรับรู้และเชาว์ปญญา เจ็บปวยเรื้อรัง พูดมาก พูดไร้สาระ และ ขี้เกียจ ไมทำตัวให้เป็นประโยชน์
ปัจจัยด้านผู้กระทำรุนแรง
อารมณร้อน ชอบใช้อารมณ ไม่เชื่อฟัง ไม่เคารพ ชอบเถียง ชอบขึ้นเสียง เปนคนที่ชอบพูดเสียงดัง
การจัดการช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ถูกทารุณกรรมและกระทํารุนแรง
กทม. > ให้แจ้งกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ หรือ หน่วยงานอื่นของรัฐที่เกี่ยวข้อง
เพื่อประสานใหนักสังคมสงเคราะห์ / ผู้ที่ให้การชวยเหลือ
ต่างจังหวัด > แจ้งอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ / สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด หรือหนวยงานอื่นของรัฐที่เกี่ยวของเพื่อประสานใหนักสังคมสงเคราะห์/ผู้ให้การช่วยเหลือ
ถูกกระทำรุนแรง ให้แยกผูสูงอายุไปพักอาศัยในสถานที่อื่นที่ปลอดภัย คำนึงถึงความสมัครใจ แล้วตรวจร่างกาย จิตใจ และข้อเท็จจริง
ฟื้นฟูร่างกายและจิตใจให้กลับเป็นปกติ สร้างสัมพันธ์ที่ดีกับครอบครัวและผู้สูงอายุ ถ้าฟื้นฟูความสัมพันธ์ไม่ได้ให้ไปสถานสงเคราะห์คนชรา
ถูกบุคคลกระทำทารุณหรือแสวงหาประโยชนโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ให้แจงความดำเนินคดี โดยรวบรวมพยานหลักฐานอันเกิดจากการตรวจร่างกาย หรือจากการสอบข้อเท็จจริง
กระทำรุนแรงเกิดจากบุคคลในครอบครัว ให้นักสังคมสงเคราะห์ให้คำแนะนำแก่ครอบครัวหรือบุคคลที่ผูสูงอายุอยู่ด้วย เพื่อทำความเข้าใจให้
สามารถดูแลผูสูงอายุไม่ให้ถูกกระทำรุนแรงได้อีก
บทบาทที่สำคัญของพยาบาล
ค้นหาปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดความรุนแรง
เพิ่มทักษะในการสังเกตเฝ้าระวังการประเมินการรายงานปฏิบัติและป้องกันการกระทำรุนแรง
หาข้อเท็จจริงโดยทันทีสอบถามผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์บันทึกหลักฐานรายละเอียดครบถ้วนชัดเจน เช่น ถ่ายรูปบาดแผลบันทึกว่าใครเป็นผู้กระทำ
วางแผนและดำเนินการที่เหมาะสมจัดระบบติดตามเยี่ยมอย่างต่อเนื่องและระบบเฝ้าระวัง
พัฒนาระบบการรายงานอย่างมีประสิทธิภาพ
สร้างความเข้มแข็งส่งเสริมความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัวจะเห็นความสำคัญของผู้สูงอายุ
ให้การสนับสนุนช่วยเหลือดูแลผู้ดูแลให้คำแนะนำกำลังใจ
รณรงค์ให้ความรู้ความเข้าใจลดความเสี่ยงในการใช้ความรุนแรง โดยเรียนรู้วิธีการควบคุมอารมณ์ระบายความโกรธ
Incontinence
Urinary Incontinence
ความหมาย
ภาวะที่ผู้ป่วยมีน้้ำปัสสาวะเล็ดลอดออกมานอกระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่างโดยไม่รู้ตัวและไม่สามารถควบคุมได้ จากการตรวจร่างกายอาจจะสังเกตเห็นว่ามีน้ำปัสสาวะไหลซึมออกมาหรือไม่ก็ได้ (สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ, 2564)
ชนิดของภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
แบบชั่วคราว
(transient urinary incontinence)
สามารถป้องกัน และรักษาให้หายได้
DIAP-PERS
D = delirium ภาวะสับสนซึ่งผู้สูงอายุจะสูญเสียการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะ
I = infection of urinary tract การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
A = atrophic vaginitis/urethritis การอักเสบของช่องคลอดหรือท่อปัสสาวะ
P = pharmacological agents/drug ยาหรือสารต่าง ๆ ที่ผู้สูงอายุรับประทาน
P = psychological factors ปัญหาทาง
จิต ทำให้มีปัญหาเกี่ยวกับอารมณ์
E = endocrine disorder ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ เช่น เบาหวาน
R = restricted mobility การจำกัดการเคลื่อนไหว
S = stool impact อุจจาระที่อัดแน่นจะกดท่อปัสสาวะและกระเพาะปัสสาวะ
แบบเรื้อรัง
Urge incontinence
ภาวะที่ผู้สูงอายุไม่สามารถกลั้นปัสสาวะได้เมื่อมีอาการปวดปัสสาวะ ปัสสาวะราดออกมาในทันที เกิดจากการที่กล้ามเนื้อเรียบของกระเพาะปัสสาวะ (detrusor muscle) มีการบีบตัวมากผิดปกติ
Functional incontinence
ไม่สามารถกลั้นปัสสาวะได้ เนื่องจาก ข้อจำกัดด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสิ่งแวดล้อม หรือมีความบกพร่องของการรับรู้ทำให้ไม่สามารถไปเข้าห้องน้าได้และเกิดปัสสาวะราดออกมาโดยไม่มีความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ
Stress incontinence
ภาวะที่มีปัสสาวะเล็ดราดออกมาเมื่อมีแรงดันในช่องท้อง
เพิ่มขึ้น เช่น ไอจาม หัวเราะ ออกก าลังกาย หรือยกของ
Overflow incontinence
กระเพาะปัสสาวะยืดขยาย (overdistension) มีน้ำปัสสาวะเต็มและล้นออกมาเกินกว่าจะเก็บไว้ได้
ูสาเหตุ
อาหาร เครื่องดื่ม และยารักษาโรคที่ส่งผลต่อการเพิ่มปริมาณของน้ำปัสสาวะ
การคลอดบุตรทางช่องคลอด
. น้้ำหนักตัวมากหรืออ้วน
ท้องผูกเรื้อรัง
โรคทางกายที่อาจส่งผลให้เกิดภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
อายุที่เพิ่มขึ้น
การประเมิน
การสอบถามประวัติและจากการบันทึก
ประเมินการเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยาในวัยสูงอายุ
ประวัติโรคที่เกิดขึ้นมาก่อน (co-morbidities) ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจล้มเหลวจากการมีน้ าคั่ง ข้ออักเสบ ซึมเศร้า และความบกพร่องทางสติปัญญา (cognitive impairment)
ประวัติยาที่รับประทาน
ประวัติการมีปัสสาวะเล็ดราด เช่น ระยะเวลา อาการแสดง อาการอื่น ๆ ที่พบร่วมด้วย
การทำ voiding diary
การตรวจร่างกาย
ชั่งน้้ำหนัก วัดส่วนสูง เพื่อ
ตรวจสอบ ดัชนีมวลกาย
ตรวจหน้าท้องว่ามีก้อน มีบาดแผลผ่าตัด คลำกระเพาะปัสสาวะได้หรือไม่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
pad test
วัดอัตราการไหลของปัสสาวะที่ขับถ่าย
ตรวจดูการทำงานของ
กระเพาะปัสสาวะ
VLPP
มีการติดเชื้อหรือไม่
ตรวจเลือดเพื่อประเมินระดับน้ำตาลในเลือดและการทำงานของไต
หลักการการดูแลรักษา
ดูแลรักษาจำเพาะตามชนิด
ขณะมีแรงเบ่ง
Kegel’s exercise
ใช้ยาเอสโทรเจนทาเฉพาะที่ที่บริเวณช่องคลอด
(topical es-trogen) และยา Duloxetine
ผ่าตัดแก้ไขภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ (anti-incontinence surgery) ใน
เพศหญิง และการผ่าตัด male sling หรือ articial urinary sphincter ในเพศชาย
เมื่อมีอาการปวดปัสสาวะเฉียบพลัน
การฝึกกระเพาะปัสสาวะ (bladder training)
การรักษาด้วยยา ประกอบด้วยยากลุ่ม anticholinergic
ขณะมีแรงเบ่งร่วมกับเมื่อมีอาการปวดปัสสาวะเฉียบพลัน
การดูแลรักษาจะทำร่วมกันทั้งสองภาวะ
ตลอดเวลา
การดูแลรักษาในกลุ่มนี้ค่อนข้างยุ่งยากซับซ้อน ขึ้นอยู่กับสาเหตุและพยาธิสภาพที่ทำให้เกิดอาการ
การดูแลรักษาโดยทั่วไป
งดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของคาเฟอีนและแอลกอฮอล
ลดน้้ำหนักในรายที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์หรืออ้วน
รับประทานอาหารที่มีกากใยเพื่อลดปัญหาท้องผูก
ปรับเปลี่ยนหรือหยุดยารักษาโรคประจำตัวที่อาจจะเป็นสาเหตุ
ควบคุมปริมาณการดื่ม
ผ้าอ้อมสำเร็จรูป
Fecal incontinence
สาเหตุ
การเสื่อมประสิทธิภาพการทำงานของกล้ามเนื้อหูรูดปากทวารหนัก
เส้นประสาทที่ควบคุมหูรูดปากทวารหนักและที่ควบคุมลำไส้ตรงและทวารหนักมีปัญหา
สการบีบตัวเคลื่อนไหวของลำไส้ส่วนต่าง ๆไม่มีประสิทธิภาพ
ความเข็มข้นหรือลักษณะของอุจจาระ
กระตุ้นการทำงานของความรู้สึกอยากถ่ายอุจจาระเมื่อกินอาหาร ที่เรียกว่า Gastrocolic reflex
การรักษา
ปรับพฤติกรรมการกินอาหาร ดื่มน้ำ เครื่องดื่ม เพื่อป้องกันท้องผูกหรือท้องเสีย
ฝึกข้าส้วมทุกเช้า และ/หรือหลังกินอาหารมื้อหลักทุกครั้ง เพื่อลดหรือไม่ให้มีกากอาหารหรืออุจจาระหลงเหลือในลำไส้ตรงและในทวารหนักมากเกินไป
กินยาระบาย เพื่อลดปริมาณอุจจาระในลำไส้ตรงและในทวารหนัก
การฝึกกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานและหูรูดปากทวารหนักเช่นเดียวกับเมื่อรู้สึกอยากอุจจาระและกลั้นไว้ โดยจะฝึกเมื่อไรเวลาไหนก็ได้ทั้งในท่านั่งและในท่านอน
ความหมาย
ภาวะที่ผู้ป่วยควบคุมการเคลื่อนไหวของลำไส้ไม่ได้(bowel movements)ทำให้มีอุจจาระ (solid stools, liquid stools, mucous) เล็ดลอดออกมาจากทวารหนัก (anus/ rectum) ไม่คาดคิด