Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงทางพยาธิสรีรวิทยา ระบบต่างๆตามทฤษฎี, MCH 14.9, MCHC …
การเปลี่ยนแปลงทางพยาธิสรีรวิทยา
ระบบต่างๆตามทฤษฎี
1.การเปลี่ยนแปลงของระบบอวัยวะสืบพันธุ์ และเต้านม
มดลูก (Uterus): ขยายตัวเพื่อรองรับการเจริญเติบโตของทารก มีปริมาณเลือดไหลเวียนไปยังมดลูกเพิ่มขึ้น
ปากมดลูก (Cervix): นุ่มลงและหนาขึ้นเพื่อป้องกันการติดเชื้อ และพร้อมสำหรับการเปิดขยายในระยะคลอด
ช่องคลอด (Vagina):
มีการเพิ่มการหลั่งของสารหล่อลื่นและมีการเปลี่ยนแปลงของค่า pH เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ต้านม (Breasts): ขยายตัวและมีการพัฒนาของต่อมน้ำนมเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการให้นม
สรุปกรณีศึกษา
สตรีตั้งครรภ์ GA 39+4 wk. ผนังมดลูกบางคลำส่วนนำทารกได้ชัดเจน
มดลูกโต สัมพันธ์กับ อายุครรภ์
ระดับยอดมดลูก3/4 > สะดือ ความยาวมดลูก 29 เซนติเมตร คลำทารกได้ส่วนนำเป็นศีรษะ ฟังเสียงหัวใจทารกได้ทางหน้าท้อง ด้านล่างขวา ฟังชัดเจน สม่ำเสมอ 148 ครั้งต่อนาที มีท้องแข็ง Interval = 5-’6' Duration = 40”- 50”
มีท้องลด ระดับยอดมดลูก 3/4 > Umbilious.
เต้านมขยายขนาดใหญ่ขึ้นต้องเปลี่ยนขนาดเสื้อชั้นในให้ใหญ่ขึ้น หัวนมและลานนมสีน้ำตาลเข้ม กว่าเดิม เต้านมไม่มีรอยแตกลาย ไม่มีน้ำนมไหล
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก (Uterine Contraction) ตลอดการตั้งครรภ์มดลูกจะหดรัดตัวไม่สม่ำเสมอ เรียกว่าBraxton Hicks contractions ไม่มีความปวด ในไตรมาสที่ 3 มีการหดรัดตัวของมดลูกบ่อยอาจเข้าใจผิดว่าเป็นการเจ็บครรภ์จริง เรียกว่าเกิดการเจ็บครรภ์ที่ไม่จริง
ระบบเลือดและการแข็งตัวของเลือด
พลาสมา: เพิ่มมากกว่าจำนวนเม็ดเลือดแดง ทำให้เกิดภาวะซีดจากการเจือจาง (physiological anemia)
การแข็งตัวของเลือด: เพิ่มขึ้นเพื่อลดความเสี่ยงการตกเลือดหลังคลอด แต่เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดลิ่มเลือด (thromboembolism)
สรุปกรณีศึกษา
blood volume, red blood cell
blood volume, red blood cell
Lab 1: Hct 23%, Plt= Adequate
factor สตรีตั้งครรภ์ไม่มีภาวะลิ่มเลือดอุดตัน
ปริมาณเลือด: เพิ่มขึ้นประมาณ 30-50% เพื่อส่งเสริมการไหลเวียนของเลือดไปยังมดลูกและทารก
โรค Thalassemia
พยาธิสภาพ
เกิดความไม่สมดุลของการสร้าง globin chain หรือมี globin chain
สายใดสายหนึ่งลดลง globin chain อีกสายจะสร้างมาก ขึ้นจนมากเกินไป
มีผลทำให้เกิดการรวมตัวกันและตกตะกอนในเม็ดเลือดแดงตัวอ่อน เกิดการสร้างเม็ดเลือดแดงที่ ไม่มีประสิทธิภาพในไขกระดูก
กระตุ้นให้เกิดการตาย เม็ดเลือด แดงตัวอ่อน ในไขกระดูก
เม็ดเลือดแดงตัวแก่ (late erythroid) มีการแตกง่ายขึ้น
เกิด ภาวะเม็ดเลือดแดงแตกเรื้อรัง (chronic hemolysis) การสร้างเม็ดเลือดแดงที่ไม่มีประสิทธิภาพ (ineffective erythropoiesis) ในไขกระดูก
2 more items...
สาเหตุ
เกิดจากการได้รับการถ่ายทอดยีนกลายพันธุ์ระดับหน่วยย่อยโมเลกุลของฮีโมโกลบิน ในโมเลกุลของฮีโมโกลบินมีสายโกลบินสองคู่ที่เรียกว่า สายอัลฟาโกลบิน (alpha-globin) และสายเบต้าโกลบิน (beta-globin) การได้รับยีนบกพร่องหรือมีการขาดหายไปของสายโกลบินสายใดสายหนึ่ง เป็นสาเหตุสำคัญที่ให้เป็นโรคธาลัสซีเมีย
ชนิดธาลัสซีเมีย
Alpha-thalassemia
Beta-thalassemia
อาการและอาการแสดง
กลุ่มพาหะธาลัสซีเมียที่ไม่มีอาการ หรือมีภาวะโลหิตจางเล็กน้อย อาจมีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยล้า หรือไม่มีอาการ
กลุ่มผู้ที่มีระดับอาการเล็กน้อยถึงปานกลาง ที่อาจต้องรับเลือดเป็นครั้งคราว
กลุ่มผู้ที่มีระดับอาการรุนแรง ที่ได้รับวินิจฉัยว่าเป็นโรคธาลัสซีเมียเมเจอร์ หรือโรคโลหิตจางคูลลีที่จำเป็นต้องได้รับเลือดอย่างสม่ำเสมอ
การวินิจฉัยธาลัสซีเมีย
การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
การตรวจชนิดของฮีโมโกลบิน
การตรวจ DNA Testing
การตรวจคัดกรองความผิดปกติของโครโมโซมทารกในครรภ์
การรักษาธาลัสซีเมีย
การรับเลือด (Blood transfusion)
การให้ยาขับธาตุเหล็ก (Iron chelation)
การผ่าตัดม้าม (Splenectomy)
การปลูกถ่ายไขกระดูกและการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิด
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
อัตราการเต้นของหัวใจ: เพิ่มขึ้นประมาณ 10-20 ครั้งต่อนาที เพื่อรองรับการเพิ่มขึ้นของปริมาณเลือด
ปริมาณเลือดที่สูบฉีดออกจากหัวใจ (Cardiac Output): เพิ่มขึ้นประมาณ 30-50% โดยสูงสุดในไตรมาสที่สอง
ความดันโลหิต: มักลดลงในช่วงกลางการตั้งครรภ์และกลับมาใกล้เคียงปกติในช่วงท้าย หลอดเลือดขยายตัว: เพื่อช่วยส่งเลือดไปยังมดลูกและอวัยวะอื่นๆ
สรุปกรณีศึกษา
ฟังเสียงหัวใจไม่พบ S1 และ murmur แทรก
ไตรมาสที่ 2 BP: 120-133/74 mmHg
ไตรมาสที่ 3 BP: 120-138/79-80 mmHg
LR วันที่ 23/9/67: แรกรับ BP = 131/78 mmHg
ทารกไม่พร่องออกซิเจน
ระบบทางเดินปัสสาวะ (renal system) และการรักษาสมดุลของน้ำ
ไต (Kidneys): ขยายตัวและทำงานหนักขึ้น เนื่องจากต้องกรองของเสียจากทั้งแม่และทารก ทำให้มีการเพิ่มอัตราการกรองของไต (glomerular filtration rate - GFR) ประมาณ 50%
การคั่งของปัสสาวะ (Urinary stasis): มักเกิดขึ้นเนื่องจากการกดของมดลูกที่ขยายตัวต่อท่อไต ทำให้มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
ปัสสาวะบ่อย: มดลูกที่ขยายตัวกดกระเพาะปัสสาวะ ทำให้ปัสสาวะบ่อยขึ้น
สรุปกรณีศึกษา
ปัสสาวะวันละ 6-9 รอบ ชอบลุกมาตอนกลางคืน
ไม่มีปัสสาวะแสบขัด
ระบบทางเดินปัสสาวะ (renal system) และการรักษาสมดุลของน้ำ
ปาก เหงือกอักเสบและเลือดออกได้ง่าย และทำให้เหงือกแดงบางรายจะมีน้ำลายมาก (ptyalism)
หลอดอาหาร หูรูดหลอดอาหารส่วนล่างต่อกับกระเพาะอาหารคลายตัวทำให้กล้ามเนื้อเรียบคลายตัวจึงทำให้เป็นกรดไหลย้อนขึ้นมาที่หลอดอาหารทำให้เกิดการปวดแสบยอดอกได้ (heartburn หรือ pyrosis)
กระเพาะอาหารและลำไส้เล็ก เพิ่มขึ้นของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนทำให้ระบบทางเดินอาหารคลายตัวและเคลื่อนไหวบีบตัวน้อยในระยะตั้งครรภ์
สรุปกรณีศึกษา
ไม่มีเลือดออกตามไรฟันขณะแปรงฟัน ไม่มีเหงือกบวม
ไม่มีริดสีดวง
ไม่พบผื่นคันตามผิวหนัง
ลำไส้ใหญ่ มีการเคลื่อนไหวของลำไส้น้อยทำให้มีการดูดซึมน้ำเพิ่มขึ้น ซึ่งอาจทำให้เกิดการท้องผูกได้ และในหญิงตั้งครรภ์ที่มีริดสีดวงทวาร อุจจาระที่แข็งอาจทำให้มีเลือดออกจากริดสีดวงทวารได้
MCH 14.9
MCHC 30.2
HCT 18.3