Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การนำเอาตัวแบบสมรรถนะมาใช้ในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Competency-Based HRM)…
การนำเอาตัวแบบสมรรถนะมาใช้ในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Competency-Based HRM)
Competency Model
Non-core Competency (Functional skill&Knowledge)
สมรรถนะประจำกลุ่มงานที่กำหนดขึ้นประจำกลุ่มงาน เพื่อในคนในกลุ่มงานเดียวกันแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมกับหน้าที่ ส่งเสริมให้สามารถปฎิบัติหน้าที่ได้ดียิ่งขึ้น
Core Competency
คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมของแต่ละตำแหน่ง เพื่อหลอมค่านิยมที่พึงประสงค์รวมกัน
การหาความสามารถ
ขององค์กร
รู้ก่อนว่าองค์กรเป็นอย่างไรภายใต้วิสัยทัศน์และพันธกิจที่มีอยู่ นำไปสู่ Organization Competency
ของบุคลากร
นำความสามารถขององค์มาพิจารณาว่าต้องมีพฤติกรรมอย่างไร ที่จะช่วยองค์กรได้ นำไปสู่ Core Competency
ของบุคลากรในกลุ่มงานบริหารทั่วไป
นำพันธกิจของหน่วยงานมาพิจารณาว่าต้องมีพฤติกรรมอย่างไรให้พันธกิจบรรลุ นำไปสู่ขีดความสามารถของหน่วยงาน Functional Competency
การพัฒนาตัวแบบสมรรมถนะ
Cooper
Size of Competency Model
พิจารณาว่าจำนวนของสมรรถนะหรือขีดความสามารถมีเท่าไร ซึ่งขึ้นอยู่กับความซับซ้อนขององค์การ ขั้นตอนการออกแบบควรค้นหาขีดความสามารถที่สำคัญและแท้จริง
Reviewing The Guidelines for A Competency
ออกมาสมรรถนะให้สอดคล้องกับทัศนติ ความรู้ ในงานนั้น ๆ ผลการปฎิบัติสามารถวัดได้และมีมาตรฐานในการปรับปรุงพัฒนา
Organizing Competencies into Hierarchies
สมรรถนะจะต้องมีความสอดคล้องกับสมรรถนะในแต่ละตัวด้วย
Boulter
1.ต้องกำหนดเกณฑ์การปฏิบัติงานที่โดดเด่น
2.กำหนดคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างในการเก็บรวบรวมข้อมูล
3.ต้องเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่กำหนดไว้
4.ต้องพัฒนาสมมติฐานที่เกี่ยวกับสมรรถนะให้ประสบความสำเร็จ
5.นำตัวแบบที่พัฒนาขึ้นไปปรับใช้ในงานทรัพยากรมนุษย์
ตัวแบบสมรรถนะ
เป็นการประยุกต์สมรรถนะมาใช้ในองค์กร
รูปแบบการจัดกลุ่ม Competency ขององค์กรเกิดจากการนำวิสัยทัศน์ พันธกิจ หรือแผนกลยุทธ์ขององค์กรมาพิจารณา โดยรูปแบบมักจะประกอบด้วยประเภทหรือกลุ่มของ Competency จะประกอบด้วย KSA ที่จำเป็น
ระบบสมรรถนะและการนำไปใช้
Competency Model
Competency Dictionary
พจนานุกรมสมรรถนะ
นำไปถ่ายทอดและประยุกต์ปฏิบัติ
คำจำกัดความ : กำหนดขึ้นเพื่อความเข้าใจตรงกันของสมาชิก
ระดับความสามารถ : แบ่งออกเป็น 5 ระดับ
ตัวชี้วัดด้านพฤติกรรม : เป็นเกณฑ์ในการวัดสมรรถนะของพนักงานแต่ละคน
ประกอบไปด้วย
Competency Name
Competency Definition
Proficiency Level
ความเชื่อมโยงของ Competency
Competency กับกลยุทธ์องค์กร
กลยุทธ์และเป้าหมายจะถูกแปลงเป็นงานที่ต้องปฏิบัติ โดยบุคลากรที่มี Competency จะทำให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ
การกำหนด Competency ที่เหมาะสมจะส่งผลต่อความสำเร็จของงานและองค์กร
การกำหนด Competency
Competency ควรเชื่อมโยงกับกลยุทธ์และเป้าหมายขององค์กร เพื่อให้ผลลัพธ์ตรงตามคาดหวัง
บุคลากรต้องมีทักษะ ความรู้ และความสามารถที่เหมาะสมกับงานที่ปฏิบัติ
Competency กับวิสัยทัศน์และกลยุทธ์
Competency ต้องสะท้อนถึงวิสัยทัศน์และกลยุทธ์ขององค์กร เพื่อสร้างบุคลากรที่มีศักยภาพ
การพัฒนา Competency ของบุคลากรจำเป็นต้องคำนึงถึงกระบวนการ พนักงาน และเทคโนโลยี
สมรรถนะ คือ
David C.McClelland
คุณลักษณะภายในที่ช่วยผลักดันให้บุคคลทำงานได้เหนือกว่าเป้าหมายที่กำหนด
Boyatzis
คุณลักษณะพื้นฐานของบุคคล เช่น แรงจูงใจ ทักษะ และความรู้ ที่จำเป็นต่อการทำงานให้ได้ผลลัพธ์ที่เหนือกว่าเป้าหมาย
Spencer and Spencer
คุณลักษณะพื้นฐาน เช่น แรงจูงใจ อุปนิสัย ความรู้ และทักษะ ที่ช่วยให้บุคคลทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกินกว่าเกณฑ์ที่กำหนด
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.)(2561)
คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เกิดจากความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะอื่นๆ ที่ช่วยให้บุคคลสร้างผลงานโดดเด่นกว่าเพื่อนร่วมงาน
อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์ (2552)
สมรรถนะคือความสามารถที่แสดงออกผ่านพฤติกรรมเพื่อให้งานสำเร็จ โดยแบ่งเป็น 3 มุมมอง ได้แก่ KAS
ความรู้ (Knowledge) ที่ได้จากการศึกษาและแลกเปลี่ยน
ทักษะ (Skills) ที่ต้องพัฒนา ได้แก่ ทักษะบริหารและทักษะเฉพาะงาน
คุณลักษณะส่วนบุคคล (Attributes) ซึ่งติดตัวและไม่ค่อยเปลี่ยนแปลง.
องค์ประกอบของสมรรถนะ
Dubois
บุคลิกลักษณะ (Trait): ลักษณะเฉพาะที่เป็นเอกลักษณ์ของบุคคล เช่น ความมั่นใจหรือความสามารถในการทำงานเป็นทีม
แรงขับภายในหรือแรงจูงใจ (Motive): สิ่งกระตุ้นที่ทำให้บุคคลมีความมุ่งมั่นและตั้งใจในการทำงาน
ทักษะ (Skill): ความสามารถในการทำสิ่งต่าง ๆ ที่ได้เรียนรู้หรือฝึกฝนมา
ภาพแห่งตน (Self-Image): การมองเห็นและรับรู้เกี่ยวกับตนเอง ซึ่งส่งผลต่อการทำงานและการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
บทบาททางสังคม (Social Role): บทบาทที่บุคคลมีในสังคมและองค์กร เช่น ความรับผิดชอบที่เกี่ยวข้องกับงาน
ความรู้ (Knowledge): ข้อมูลและความเข้าใจในเรื่องต่าง ๆ ที่มีผลต่อการตัดสินใจและการทำงาน
Boyatzis
แรงขับภายในหรือแรงจูงใจ (Motives): ปัจจัยที่กระตุ้นให้บุคคลมีความมุ่งมั่นและตั้งใจในการทำงาน
บุคลิกลักษณะ (Traits): ลักษณะเฉพาะของบุคคลที่มีผลต่อพฤติกรรมและการปฏิบัติงาน เช่น ความรับผิดชอบและความมั่นใจ
ทักษะหรือความสามารถ (Skills): ความสามารถเฉพาะที่บุคคลพัฒนาขึ้นเพื่อทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ความรู้ (Knowledge): ข้อมูลและความเข้าใจในเรื่องต่าง ๆ ที่จำเป็นสำหรับการทำงาน
Roe
สมรรถนะย่อยหรือสมรรถนะพื้นฐาน (Subcompetence/Basic Competence): ความสามารถพื้นฐานที่จำเป็นในการทำงาน
ความรู้ (Knowledge): ข้อมูลและความเข้าใจที่เกี่ยวข้องกับงานที่ทำ
ทักษะ (Skill): ความสามารถเฉพาะที่บุคคลพัฒนาขึ้นเพื่อปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทัศนคติ (Attitude): การมีมุมมองหรือทัศนคติเชิงบวกต่อการทำงานและการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
ศักยภาพ (Capacity): ความสามารถโดยรวมในการทำงานและการปรับตัวต่อสถานการณ์ต่าง ๆ
บุคลิกภาพ (Personality): ลักษณะเฉพาะของบุคคลที่มีผลต่อพฤติกรรมและการทำงาน
คุณสมบัติหรือคุณลักษณะอื่น ๆ (Other Characteristics): ลักษณะเพิ่มเติมที่อาจมีผลต่อการทำงาน เช่น ความยืดหยุ่นหรือความคิดสร้างสรรค์
Ruky
ด้านแรงขับภายในหรือแรงจูงใจ (Motive)
ด้านคุณลักษณะหรือคุณสมบัติของบุคคล (Personal Character)
ด้านความคิดเกี่ยวกับตนเอง (Self Concept)
ด้านความรู้ของแต่ละบุคคล (Individual Knowledge)
แนวความคิดของ Ruky สอดคล้องและคล้ายคลึงกับแนวความคิดของนักวิชาการอื่น ๆ ที่กล่าวถึงก่อนหน้านี้ โดยเน้นความสำคัญของปัจจัยทางด้านแรงขับภายใน บุคลิกภาพ และความคิดเกี่ยวกับตนเอง ซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้การปฏิบัติงานของแต่ละบุคคลแตกต่างกัน
Competency-Based HR. Management
:
สรรหาและคัดเลือกบุคคล
สอนงานและการดูแล
จ่ายเงินเดือนและค่าตอบแทน
ประเมินและบริหารผลการปฏิบัติงาน
ฝึกอบรมและพัฒนา
ตัดสินเลื่อนขั้นพนักงาน
กำหนดความก้าวหน้าและทดแทนตำแหน่ง
กลุ่มที่ 1