Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะผู้นำทางการบริหารและความเป็นนักบริหารการศึกษามืออาชีพ, 88268552,…
ภาวะผู้นำทางการบริหารและความเป็นนักบริหารการศึกษามืออาชีพ
แนวคิดเกี่ยวกับผู้นำ
ผู้นำ เป็นผู้ที่มีศิลปะที่สามารถมีอิทธิพลเหนือคนอื่น และนำบุคคลเหล่านั้นไปโดยได้รับ ความไว้วางใจและเชื่อมั่นอย่างเต็มที่พร้อมทั้งให้ความเคารพนับถือให้ความร่วมมือ และให้ความมั่นใจในตัวผู้นำอย่างจริงจัง
การแบ่งประเภทของผู้นำตามลักษณะพฤติกรรมมีหลายวิธีตามลักษณะต่าง ๆ เช่น ลักษณะการปฏิบัติงาน ลักษณะของพฤติกรรม ลักษณะการบริหาร และทฤษฎี 3 มิติ
ของเร็ดดิน ฯลฯ
ทฤษฎีภาวะผู้นำ
ทฤษฏีเชิงคุณลักษณะของผู้นำ (Trait Theory)
ทฤษฏีนี้ได้อธิบายคุณลักษณะที่แตกต่างกันระหว่างผู้นำและไม่ใช่ผู้นำ ในอดีตที่ผ่านมาผู้นำแบบเก่าจะใช้วิธีสืบทอดต่อๆ กัน แล้วเปลี่ยนมาเป็นการค้นหาคุณลักษณะของภาวะผู้นำ
ทฤษฏีเชิงพฤติกรรมของผู้นำ (Behavioral Theory)
แนวทางการศึกษาภาวะผู้นำจึงเปลี่ยนมาศึกษาด้านพฤติกรรมที่ผู้นำแสดงออกต่อผู้ตาม หรือ ผู้ปฏิบัติงานแทน
ทฤษฏีภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Transformational Leadership Theories)
1.ภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยน แนวคิดเกี่ยวกับภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยน
2.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเป็นแนวคิดของทฤษฏีแนวใหม่ ที่ชี้ให้เห็นถึงคุณลักษณะของผู้นำไม่รวมผู้ปฏิบัติงานและสถานการณ์
ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและทฤษฎีภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง
การแสดงพฤติกรรมของบุคคลให้สร้างแรงบันดาลใจและกระตุ้นให้ผู้ร่วม งานสามารถคิดและตัดสินใจด้วยตนเอง กระตุ้นจูงใจผู้ร่วมงานให้กระทำมากกว่า คาดหวังไว้ สร้างความผูกพันต่อองค์กร มีวิสัยทัศน์กว้างไกล สามารถกระตุ้นการคิดสร้างสรรค์หาทางเลือกหรือวิธีการใหม่ๆ การแก้ปัญหาในการทำงาน
Lens Flare Light
Noel M. Tichy & Mary Anne Devanna (1986, p. 27-32) ได้ศึกษาผู้นำในองค์การ ใหญ่ๆ ซึ่งมีการกิจและลักษณะแตกต่างกัน โดยสัมภายณ์ผู้นำและผู้ปฏิบัติงานในองค์การนั้นๆ
รู้ถึงสิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง
2.สร้างวิสัยทัศน์ใหม่ๆ
สร้างการยอมรับการเปลี่ยนแปลงทั้งองค์การ
Lens Flare Light
Wayne K. Hoy & Cecil G. Miskel (2005, p. 286-289) กล่าวว่า ผู้นำการเปลี่ยนแปลงได้รับการคาดหวังว่าเป็นผู้ที่มีลักษณะสำคัญดังนี้
(1) สามารถกำหนดขี้แจงในเรื่องความต้องการจำเป็นสำหรับการเปลี่ยนแปลงให้ชัดเจน
(2) สร้างวิสัยทัศน์ใหม่ และรวบรวมความผูกพันต่อวิสัยทัศน์นั้น
(3) คลใจผู้ตามให้มุ่งคำนึงถึงประโยชน์ขององค์การมากกว่าประโยชน์ของตนเอง
(4) เปลี่ยนแปลงองค์การให้สอดคต้องกับวิสัยทัศน์ที่ได้ร่วมวางไว้มากกว่าที่จะทำงานภายในบริบทเดิม
(5) เป็นที่ศึกษาหรือเป็นพี่เลี้ยงแก่ผู้ตามเพื่อที่จะให้ผู้ตามมีความรับผิดชอบที่มากขึ้นในเรื่องการพัฒนาตนเอง
Lens Flare Light
Burns (Yukl and Fleet. 1992 : 175-176)
ภาวะผู้นำเชิงกระบวนการที่ผู้นำมีอิทธิทธิพลต่อผู้ตามและในทางกลับกันผู้ตามก็ส่งอิทธิทธิพลต่อการแก้ไขพฤติกรรมของผู้นำผู้นำการเปลี่ยนแปลงพยายามยกระดับการตระหนักรู้ของผู้ตามโดยการยกระดับแนวความคิดและค่านิยมทางสังคมให้สูงขึ้นเช่นความยุติธรรมสันติภาพโดยไม่ยึดตามอารมณ์
Bass & Avolio (1993)
ได้เสนอกาะผู้นำแบบบเต็มรูปแบบ โดยไข้ผลการวิเคราะห้องค์ประกอบกาวะผู้ทำตามรูปแบบภาวะผู้นำที่เขาเคยเสนลในปี ค.ศ.1985 โมดลนี้จะประกอบด้วยภาวะผู้นำ 3 แบบใหญ่
ภาวะผู้นำ
การเปลี่ยนแปลง
4Is
การคำนึงถึงการเป็นปัจเจกบุคคล
(Individual Consideration: IC)
การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์หรือการสร้างบารมี
การกระตุ้นการใช้ปัญญา
(Intellectual Stimulation : IS)
การสร้างแรงบันดาลใจ
(Inspirational Motivation : IM)
รูปแบบประเภทและพฤติกรรมผู้นำ
ผู้นำหรือผู้บริหารนั้นมีหลายประเภท การได้เรียนรู้พฤติกรรมของผู้นำที่แตกต่างบุคลิกกัน อาจช่วยให้คุณในฐานะนักบริหารและเป็นผู้นำขององค์กรเข้าใจพฤติกรรมของตนเอง
ผู้นำแบบบุรุษเหล็ก / สตรีเหล็ก (Strongman)
เป็นผู้นำที่ใช้คำสั่งหรือคำแนะนำเป็นเครื่องมือทำให้เกิดอิทธิพลต่อผู้ตาม ผู้นำแบบนี้ใช้อำนาจ ที่มากับตำแหน่งของตน
ผู้นำแบบแลกเปลี่ยน (Transactor)
เป็นผู้นำที่ใช้รางวัล (rewards) เป็นเครื่องแลกเปลี่ยนกับการปฏิบัติตามของผู้ตามรางวัลหรือผลประโยชน์แลกเปลี่ยน
ผู้นำแบบนักวิสัยทัศน์ (Visionary hero)
เป็นผู้นำที่ใช้บุคลิกภาพและความสามารถพิเศษ (charisma) ของตนเป็นเครื่องมือ เกิดอิทธิพล
กระตุ้น เกิดแรงบันดาลใจแก่ผู้ตามให้อยากทำตามอย่าง ด้วยความเลื่อมใสศรัทธาต่อตัวผู้นำ
ผู้นำแบบชั้นยอด (Super Leader)
เป็นผู้นำที่มุ่งพัฒนาผู้ตาม เพื่อให้สามารถนำตนเอง จนในที่สุดผู้ตามก็แปรสภาพไปเป็นผู้นำโดยอัตโนมัติ มีบางคนเรียกผู้นำแบบนี้ว่า “ผู้นำแบบมอบอำนาจเบ็ดเสร็จ”
เป็นภาวะผู้นำที่มุ่งเน้นไปที่การเปลี่ยนแปลงบุคลากรในองค์กรและสร้างวัฒนธรรมองค์กรใหม่ ด้วยคุณลักษณะภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ด้านวิสัยทัศน์ ด้านการวางแผนกลยุทธ์ ด้านการสื่อสาร ด้านการสร้างความสัมพันธ์กับบุคลากร และด้านการทำงานเป็นทีม จึงจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแบบบูรณาการการทำงานในมิติต่างๆ ลดการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงภายในองค์กรและกระตุ้นบุคลากรทุกฝ่ายให้มีส่วนร่วมขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงองค์กรไปพร้อมกัน ท่ามกลางสภาพแวดล้อมการแข่งขันและสภาวะวิกฤตต่างๆ ที่องค์กรกำลังเผชิญในศตวรรษที่ 21
การพัฒนาภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21
นางสาวพัชราวรรณ ป้องกัน
รหัสนักศึกษา 6733100013