Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4 เรื่องการทำข้อมูลให้เป็นภาพและการสื่อสารด้วยข้อมูล, บทที่5…
บทที่4 เรื่องการทำข้อมูลให้เป็นภาพและการสื่อสารด้วยข้อมูล
สิ่งที่ต้องคำนึงในการนำเสนอข้อมูล
4.รูปที่นำมาใส่ในงานนำเสนอจะต้องไม่ใหญ่จนเกินไป
ข้อมูลที่นำมาใส่ในงานนำเสนอนั้นจะต้องสั้น กระชับ ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการนำเสนอ
รูปที่ใช้จะต้องสอดคล้องกับเนื้อหา
สีที่ใช้ต้องสบายตา และน่าสนใจ หลีกเลี่ยงการใช้สีพื้นอ่อนคู่กับตัวหนังสือสีอ่อนเพราะจะทำให้อ่านยาก
5.ภาพเคลื่อนไหวควรใส่ให้เหมาะสม ไม่มากไม่น้อยเกินไป
6.การใช้พื้นหลัง
การสื่อสารด้วยข้อมูล
การทำข้อมูลให้เป็นภาพ
การเล่าเรื่องจากข้อมูล
แบบห้องสมุด
แบบตู้กดน้ำ
2.แบบร้านกาแฟ
ประโยชน์ของการสื่อสารข้อมูล
ความถูกต้องของข้อมูล
ความเร็วของการทำงาน
การจัดเก็บข้อมูลได้ง่ายและสื่อสารได้รวดเร็ว
ต้นทุนประหยัด
การสื่อสารข้อมูล (Data Communications)
ผู้ส่งสาร (Sender)
ช่องทางการสื่อสารหรือสื่อ (Channel)
สาร (Message)
ผู้รับสาร (Receiver)
สิ่งที่ไม่ควรทำในการนำเสนองาน
อาขยาน อ่านกระจุย
3.อย่านอกเรื่องไปไกล
5 ใช้ตัวอักษรบนหน้าสไลด์ให้น้อยที่สุด
อย่าไว้ใจทาง อย่าวางใจคอมฯ
4.อย่าเยอะ
บทที่5 การแบ่งปันข้อมูล Data Sharing
ข้อควรระวังในการแบ่งปันข้อมูล
ไม่มีความลับในสังคมออนไลน์
ข้อมูลบางชนิดไม่ควรเปิดเผย
ข้อมูลบางชนิดอาจถูกนำมาใช้หลอกลวง
การรักษาข้อมูลที่ได้รับการปกป้องตามกฎหมาย
ขั้นตอนการทำแฟ้มผลงาน
5.ลำดับและร้อย
เรียงเรื่องราว
3.คัดเลือกผลงาน
4.จัดลำดับ
ความน่าสนใจ
2.จัดหมวดหมู่
1.รวบรวมผลงาน
6.ตรวจทาน
ช่องทางในการสื่อสาร
สื่อมวลชน
(mass media)
สื่อสังคมออนไลน์
(social media)
การสื่อสารโดยตรง
(direct communication)
ขั้นตอนการเขียน Blog
7.ตรวจทานเเก้ไข
5.การเขียน
1.การวางเเผน
6.การใช้ภาพประกอบ
3.ตรวจสอบข้อมูล
2.ค้นคว้า
4.การเขียนคำโปรย
บทที่6 จริยธรรมและจรรยาบรรณ
และ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2560
ความแตกต่างระหว่างจริยธรรมกับกฎหมาย
กฎหมายเป็นสิ่งที่ควบคุมการกระทำของคน แต่จริยธรรมเป็นสิ่งที่ควบคุมจิตใจ
กฎหมายเป็นข้อบังคับที่เป็นลายลักษณ์อักษร
กฎหมายเป็นสิ่งที่ออกโดยรัฐ ผ่านกระบวนการนิติบัญญัติ
กฎหมายมีบทลงโทษที่ชัดเจน และแน่นอน
กฎหมายมีวัตถุประสงค์ลงโทษผู้กระทำผิด หรือชดใช้ค่าเสียหาย แต่จริยธรรมมีวัตถุประสงค์ เพื่อยกระดับคุณค่าทางจิตใจ
จริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
2.ความถูกต้อง (Accuracy)
3.ความเป็นเจ้าของ (Property)
1.ความเป็นส่วนตัว (Privacy)
4.การเข้าถึงข้อมูล (Data accessibility)
ประโยชน์ของการกำหนดจรรยาบรรณสำหรับหน่วยงาน
พัฒนาการตัดสินใจทางจริยธรรมให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
สนับสนุนให้เกิดมาตรฐานของการประพฤติตามจริยธรรม
มีการประเมินเปรียบเทียบกับมาตรฐาน
เพิ่มความน่าเชื่อถือและน่านับถือจากสาธารณชน
ทรัพย์สินทางปัญญา Intellectual property
ลิขสิทธิ์ (Copyright)
ความลับทางการค้า (Trade secrets)
สิทธิบัตร (Patents)
บทที่7 นวัตกรรมเเละเทคโนโลยีสมัยใหม่
รูปแบบการให้บริการการประมวลผลแบบคลาวด์
Platform-as-a-Service (PaaS)
Infrastructure-as-a-Service (IaaS)
Software-as-a-Service (SaaS)
แนวคิดด้านปัญญาประดิษฐ์
การรับรู้ (Perception)
การเรียนรู้ (Learning)
การแทนความรู้และการให้เหตุผล (Representation and Reasoning)
การปฏิสัมพันธ์อย่างเป็นธรรมชาติ (Natural Interaction)
ผลกระทบทางสังคม (Social Impact)
เทคโนโลยีเสมือนจริง
การใช้ประโยชน์จากความเป็นจริงเสริม
ด้านการศึกษา
หลักการทำงานของความเป็นจริงเสริม
การใช้ประโยชน์จากความเป็นจริงเสริม
ด้านการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย
การใช้ประโยชน์จากความเป็นจริงเสริม
ด้านการท่องเที่ยว/การเดินทาง
การใช้ประโยชน์จากความเป็นจริงเสริม
ด้านความบันเทิง/เกม
สถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
เกตเวย์และเครือข่าย
สมองกลฝังตัวและเซนเซอร์
ส่วนสนับสนุนการบริการ
แอปพลิเคชั่น