Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีอย่างรู้เท่าทัน นวพล คำสุพรรณ เลขที่18 เลขห้อง3/11…
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีอย่างรู้เท่าทัน นวพล
คำสุพรรณ เลขที่18 เลขห้อง3/11
1.การรู้เท่าทันสื่อ
2.แนวทางการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยและมีจริยธรรม
3.การรักษาข้อมูลส่วนตัว
4,การรับมือการคุกคามทางออนไลน์
5.ลิขสิทธิ์และความเป็นเจ้าของผลงาน
6.กฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และการกระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์
1
การรู้เท่าทันสื่อ
2
แนวคิดการรู้เท่าทันสื่อถือกำเนิดขึ้นพร้อมกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทางด้านการสื่อสารที่เกิด
ขึ้นกับสื่อต่าง ๆ ตั้งแต่ยุคของสื่อวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ในระบบแอนะล็อก(Analog) จนก้าวมาสู่ยุค
สารสนเทศที่สื่อต่าง ๆ
การรักษาข้อมูลส่วนตัวในโลกไซเบอร์
การปกป้องข้อมูลความส่วนตัวในโลกออนไลน์ของผู้ใช้งานที่บุคคลหรือหน่วยงานอื่นจะนำไปจัดเก็บ
นำไปใช้ประโยชน์ หรือนำข้อมูลนั้นไปเผยแพร่ ในปัจจุบัน ส่วนหนึ่งของข้อมูลส่วนตัวของเราได้ถูกจัดเก็บไว้
โดยผู้ให้บริการโทรศัพท์ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต และผู้ให้บริการสื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งมีนโยบายด้านความเป็น
ส่วนตัวของผู้ใช้งานในระดับหนึ่ง แต่ปัญหาอาจจะเกิดขึ้นได้หากข้อมูลส่วนตัวของเราตกไปอยู่ในมือของผู้ที่ไม่
น่าไว้ใจ ข้อมูลส่วนตัวของผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตอาจถูกละเมิดได้ เช่น บริษัทได้จัดเก็บและแบ่งปันข้อมูลส่วนตัว
ของผู้ใช้งานให้บริษัทอื่น ๆ การเจาะระบบความปลอดภัย (Hack)
การรับมือการคุกคามทางออนไลน
ปัญหาเด็กและเยาวชนถูกกลั่นแกล้งในสถานศึกษานั้น เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นมานานแล้วในสังคมไทย
แต่ปัจจุบันพฤติกรรมการกลั่นแกล้งในสังคมของเด็กและเยาวชนได้มีรูปแบบที่เปลี่ยนไป เนื่องจากวิวัฒนาการ
ทางการสื่อสารของมนุษย์ได้พัฒนาเข้าสู่ยุคของสังคมออนไลน์การกลั่นแกล้งทางกายภายในอดีตจึงเปลี่ยนเป็น
การคุกคามออนไลน์ (Cyber Bullying) โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารต่าง ๆ เช่น จดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail), โทรศัพท์เคลื่อนที่ (Cell phone), ระบบส่งข้อความทันที (Instant messaging) หรือ
สังคมออนไลน
ลิขสิทธิ์และความเป็นเจ้าของผลงาน
ปัจจุบันทรัพย์สินทางปัญญานับว่าเป็นสิ่งสำคัญยิ่ง และควรค่าต่อการที่จะได้รับความคุ้มครองตาม
กฎหมาย ด้วยเหตุผลที่ว่าการประดิษฐ์คิดค้น กรรมวิธีต่าง ๆ นั้น จุดกำเนิดของการได้มานั้นมาจากความคิดมา
จากมันสมองผนวกกับระยะเวลาที่ทุ่มเทให้กับการศึกษาวิจัยเพื่อให้ได้มาซึ่งผลงานนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่
ทรงคุณค่าเป็นที่ภูมิใจของผู้ประดิษฐ์ ดังนั้นด้วยเหตุนี้เองผลงานดังกล่าวจึงควรค่าแก่การคุ้มครอง จากเหตุที่
กล่าวมาจึงได้มีการบัญญัติเป็นกฎหมายเพื่อให้การคุ้มครอง โดยมีพระราชบัญญัติสิทธิบัตร ลิขสิทธิ์
เครื่องหมายการค้า ให้การคุ้มครองในหลักการรูปแบบที่แตกต่างกันไป