Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในอนาคต,…
บทที่ 9
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในอนาคต
ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data)
ความหมายของข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data)
ข้อมูลขนาดใหญ่ เป็นเทคโนโลยีการประมวลผลข้อมูลข่าวสารที่มีจํานวนมากและหลากหลาย
รูปแบบ สามารถเพิ่มเข้ามาอย่างต่อเนื่องตลอดเวลาทั้งแบบที่เข้ามาตามขั้นตอนการประมวลผล หรือ
ที่เข้ามาแบบเวลาจริง (Real Time) ทันทีทันใด
รูปแบบและคุณลักษณะของข้อมูลขนาดใหญ่
รูปแบบและคุณลักษณะของข้อมูลขนาดใหญ่
การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Analytics)
เป็นเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ เพื่อค้นหารูปแบบความสัมพันธ์ของข้อมูล
เหล่านั้นในฐานข้อมูลขนาดใหญ่ที่เต็มไปด้วยข้อมูลหลากหลายรูปแบบ
รูปแบบการวิเคราะห์ Big Data
การวิเคราะห์เชิงพรรณนา (Descriptive Analytics)
เป็นการวิเคราะห์โดยการนําข้อมูลในอดีตมาวิเคราะห์ เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ต้องการ เช่น
อธิบายว่าเกิดอะไรขึ้น จํานวนเท่าไร ความถี่เท่าใด เกิดเหตุการณ์สําคัญ ๆ อะไร ส่วนไหนบ้าง เป็นต้น
การวิเคราะห์เชิงทํานาย (Predictive Analytics)
เป็นการวิเคราะห์ในลักษณะที่ซับซ้อนขึ้นไปอีกขั้นหนึ่ง คือ เป็นการประเมินว่าจะเกิดอะไร
ขึ้นต่อไป มีการให้ข้อมูลตัวชี้วัดของผลลัพธ์ที่อาจจะเกิดขึ้น
การวิเคราะห์แบบกําหนดเอง (Prescriptive Analytics)
เป็นการสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อพยากรณ์แนวโน้มและเสนอทางเลือกในการตัดสินใจที่
เหมาะสม เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลที่มีความซับซ้อน
เทคโนโลยีบล็อกเชน (Blockchain Technology)
สิ่งสําคัญอย่างหนึ่งสําหรับการทําธุรกรรมต่าง ๆ ในปัจจุบัน คือ ความน่าเชื่อถือระหว่าง
บุคคลในการทําธุรกรรมนั้น ๆ
การทํางานของบล็อกเชน
บล็อกเชน เป็นโครงสร้างข้อมูล (Data Structure) แบบหนึ่งที่ทําให้รายการข้อมูล(Transaction)
แต่ละรายการถูกสร้างขึ้นในลักษณะเป็นบล็อก (Block) ที่สามารถเชื่อมต่อกันได้เป็นเสมือนห่วงโซ่ (Chain)
ทําให้แต่ละบล็อกนั้นเชื่อมต่อไปยังโหนดต่าง ๆ
การประยุกต์ใช้บล็อกเชน
Technology : FinTech) เช่น การทําธุรกรรมออนไลน์ของธนาคาร หรือการวิเคราะห์ข้อมูลหุ้นเพื่อ
อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (Internet of Things: IoT)
ปัจจุบันอินเทอร์เน็ตถือว่าเป็นเทคโนโลยีที่มีความสําคัญและมีอิทธิพลกับชีวิตและสังคม
ของเราเป็นอย่างมาก อุปกรณ์ต่าง ๆ
ความหมายของอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง หมายถึง การเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้สามารถสื่อสารกันได้โดย
อาศัยเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเป็นตัวกลางในการเชื่อมโยง และสามารถควบคุมสั่งการอุปกรณ์ต่าง ๆ
องค์ประกอบสําคัญของอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
เครือข่ายอุปกรณ์รับรู้สัญญาณ (Wireless Sensor Network: WSN)
คือ กลุ่มของอุปกรณ์รับรู้สัญญาณ (Sensor Node) ต่าง ๆ ที่ทําให้อุปกรณ์ต่าง ๆ
เทคโนโลยีการเข้าถึง (Access Technology)
ปัจจุบันได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีสําหรับการเชื่อมต่อสําหรับอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง หรือ
Access technology โดยสามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่
2.1 บลูทูธ 4.0 (Bluetooth 4.0)
2.2 IEEE 802.15.4e
2.3 WLAN IEEE 802.11TM (Wi-Fi)
ตัวเชื่อมต่อเครือข่ายอุปกรณ์รับรู้สัญญาณ (Gateway)
ตัวเชื่อมต่อเครือข่ายอุปกรณ์รับรู้สัญญาณจะทําหน้าที่ในการเชื่อมต่ออุปกรณ์รับรู้สัญญาณ
(Sensor) ต่าง ๆ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
ในปัจจุบันเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ถูกนํามาประยุกต์ใช้และสามารถตอบสนอง
การดําเนินงานด้านต่าง ๆ ได้หลากหลาย ได้แก่
บ้านอัจฉริยะ (Smart Home)
อุปกรณ์สวมใส่ (Wearable)
คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ติดตั้งและใช้งานบนส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เพื่อความ
เมืองอัจฉริยะ (Smart City)
โครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Grid)
รถยนต์อัจฉริยะ (Connected car)
เป็นรถยนต์ที่มีการติดตั้งระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตแบบไร้สาย เป็นการประยุกต์ใช้
อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งกับยานยนต์และการคมนาคม ทําให้รถยนต์กลายเป็นยานพาหนะอัจฉริยะ
(Connected Vehicles หรือ Connected Car) ซึ่งสามารถสื่อสารกับสิ่งต่าง ๆ ได้แก่
5.1 เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต เพื่อความบันเทิงของผู้โดยสาร (Infotainment)
5.2 เชื่อมต่อกับบริการเกี่ยวกับการขับขี่ (Telematics) เช่น บริการนําทาง บริการ
ตรวจเช็ครถยนต์จากระยะไกล เป็นต้น
5.3 สื่อสารกับสิ่งต่าง ๆ รอบตัว (Vehicle-to-Everything: V2X) เช่น รถยนต์คันอื่น
สัญญาณไฟจราจร เป็นต้น
5.4 นําการสื่อสารมาผนวกกับข้อมูลจากอุปกรณ์เชื่อมต่อต่าง ๆ
อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งภาคอุตสาหกรรม (Industrial Internet of Things: IIoT)
6.1 อุปกรณ์ตรวจจับสัญญาณ (Sensors)
อุปกรณ์ในการตรวจจับสัญญาณที่เกิดขึ้น
จากกระบวนการต่าง ๆ
6.2 ส่วนประมวลผล (Processor หรือ Industrial Analytics)
เป็นส่วนที่ทําหน้าที่ใน
การประมวลผลข้อมูลที่ได้รับจากอุปกรณ์ตรวจจับสัญญาณ (Sensor)
6.3 เครื่องจักรที่ชาญฉลาด (Intelligent Machine Application)
เครื่องจักร
ระบบสุขภาพแบบครบวงจร (Connected health)
เป็นแนวคิดการสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงชุมชนเข้ากับระบบสุขภาพแบบครบวงจร โดย
ฟาร์มอัจฉริยะ (Smart farming)
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI)
ความหมายของปัญญาประดิษฐ์
ปัญญาประดิษฐ์ คือ ความฉลาด ความรู้ที่สร้างขึ้นมาจากสิ่งที่ไม่มีชีวิต เป็นศาสตร์ที่อาศัย
ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การแบ่งกลุ่มของปัญญาประดิษฐ์
จากความหมายต่าง ๆ สามารถจัดแบ่งปัญญาประดิษฐ์ออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่
ระบบที่คิดและให้เหตุผลได้เหมือนมนุษย์ (Systems that Think Like Humans)
ซึ่ง
การที่จะทําให้เครื่องคอมพิวเตอร์คิดอย่างมนุษย์ได้
ระบบที่กระทําได้เหมือนมนุษย์ (Systems that Act Like Humans)
คือ การที่คอมพิวเตอร์
ระบบที่สามารถคิดได้อย่างมีหลักการและเหตุผล (Systems that Think Rationally)
โดยการศึกษาหลักการคํานวณ ใช้หลักตรรกศาสตร์ในการคิดหาคําตอบอย่างมีเหตุมีผล เช่น ระบบ
ระบบที่กระทําได้ตามหลักการและเหตุผล (Systems that Act Rationally)
เป็นการ
งานวิจัยด้านปัญญาประดิษฐ์
งานวิจัยด้านปัญญาประดิษฐ์ ที่ได้รับความสนใจในปัจจุบัน ได้แก่
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems)
โครงข่ายประสาทเทียม (Artificial Neural Network)
ตรรกศาสตร์คลุมเครือ (Fuzzy Logic)
วิทยาการหุ่นยนต์ (Robotics)
ภาษาธรรมชาติ (Natural Language)
5.1 การวิเคราะห์ทางองค์ประกอบของคํา (Morphological Analysis)
5.2 การวิเคราะห์ทางไวยากรณ์ (Syntactic Analysis)
5.3 การวิเคราะห์ทางความหมาย (Semantic Analysis)
5.4 การวิเคราะห์ข้อความที่เกี่ยวข้อง (Discourse Analysis)
5.5 การวิเคราะห์องค์ประกอบในโครงสร้าง (Pragmatic Analysis)
เทคโนโลยีเสมือนจริง (Reality)
ความจริงเสมือน (Virtual Reality: VR)
คือ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการจําลองสภาพแวดล้อมที่ใกล้เคียงความ
เป็นจริงขึ้นมา และยังรวมถึงการจําลองข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวกับประสาทสัมผัสด้วย เช่น เสียงจาก
ลําโพงหรือหูฟัง
ความจริงเสริม (Augmented Reality: AR)
เทคโนโลยีความจริงเสริมเป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการเชื่อมโยงโลก
แห่งความจริงเข้ากับโลกเสมือน โดยใช้อุปกรณ์ทางด้านฮาร์ดแวร์ร่วมกับซอฟต์แวร์ทําให้สามารถ
ข้อมูลขนาดใหญ่สามารถมีรูปแบบได้หลากหลาย เช่น ข้อมูลเชิงพฤติกรรมการใช้งานต่าง ๆ
ขนาด (Volume) ข้อมูลมีขนาดใหญ่ มีปริมาณข้อมูลมาก ซึ่งสามารถเป็นได้ทั้งข้อมูล
แบบออฟไลน์หรือออนไลน์
ความหลากหลาย (Variety) ข้อมูลสามารถเป็นได้ทั้งที่มีโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง
ความเร็ว (Velocity) ข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาอย่างรวดเร็ว มีการส่งผ่าน
ข้อมูลอย่างต่อเนื่องในลักษณะสื่อผสม (Multimedia)
ความจริง (Veracity) ข้อมูลมีความไม่ชัดเจน (Uncleansed) อาจมีความไม่น่าเชื่อถือ
(Untrusted)
กลุ่มธุรกิจที่ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการบริการที่เกี่ยวข้องกับการเงินและการลงทุน (Financial
บิทคอยน์(Bitcoin)
บิทคอยน์คือ สกุลเงินในรูปแบบของดิจิทัลแรกของโลกที่ได้รับความนิยม เป็นคริปโตเคอเรนซี
(Cryptocurrency) หรือสกุลเงินที่มีการเข้ารหัสประเภทหนึ่ง ถูกสร้างขึ้นมาด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ไม่มีรูปร่างและไม่สามารถจับต้องได้เหมือนธนบัตรหรือเหรียญ
คือ การนําเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้ในการควบคุมอุปกรณ์ต่าง ๆ ทั้งภายในและ
ประกอบด้วยคุณสมบัติหลัก 4 ประการ ได้แก่
1.1 ระบบเครือข่าย (Smart Home Network)
1.2 ระบบการควบคุมระบบอัจฉริยะ (Intelligent Control System)
1.3 อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านที่สามารถเชื่อมโยงกันได้ (Home Automation
Device)
1.4 อุปกรณ์ตรวจจับสัญญาณ (Sensor)
สะดวกในการใช้งาน เพราะสามารถนําติดตัวไปได้ทุกที่ โดยสามารถทํางานได้ทั้งในแบบไม่เชื่อมต่อกับ
อุปกรณ์อื่น (Stand Alone) หรือทํางานร่วมกับอุปกรณ์อื่นได้ผ่านทางแอปพลิเคชัน
การโปรแกรมทําให้ผู้ใช้งานสามารถ ควบคุม แก้ไข จัดการตรวจสอบการทํางานผ่านแอปพลิเคชันที่
พัฒนาขึ้น และสามารถนําข้อมูลไปวิเคราะห์ประมวลผลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตต่อไปได้
ข้อมูลภาพ เสียง วิดีโอ ข้อความจากแอพพลิเคชั่นต่าง ๆ เป็นต้น โดยทั่วไปแล้วข้อมูลขนาดใหญ่จะมี
คุณลักษณะ
ช่วยการตัดสินใจของนักลงทุน เป็นต้น
ภายนอกบ้าน เพื่อให้เกิดความสะดวกสบาย
คือ เมืองที่มีการนําเทคโนโลยีมาปรับใช้เพื่อทําให้คุณภาพของประชากรดีขึ้น เช่น การจัด
การพลังงานไฟฟ้า ระบบจัดการน้ํา จัดการขยะ ระบบควบคุมการจราจรอัจฉริยะ ระบบควบคุม
อาคารอัจฉริยะ เป็นต้น
คือ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาบริหารจัดการควบคุมการผลิตส่ง และ
จ่ายพลังงานไฟฟ้า โครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะประกอบด้วยระบบตรวจจับสัญญาณ ระบบเก็บข้อมูล
คือ การนําปัญญาประดิษฐ์เข้ามาประยุกต์ใช้ในภาคอุตสาหกรรม โดยการผสานและ
เชื่อมโยงเครื่องจักร สิ่งอํานวยความสะดวก ยานพาหนะ
ยุคใหม่ที่นอกจากจะมีระบบกลไกที่มีความซับซ้อนแล้ว ยังสามารถทํางานในรูปแบบอัตโนมัติโดยผ่าน
เชื่อมโยงทุกบริการที่เกี่ยวข้องกับการบริการสุขภาพ
คือ การนําเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาผสมผสานกับงานด้านการเกษตร โดยการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ รวมถึงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีกระบวนการรับรู้ ประมวลผลและสามารถตอบสนองได้คล้ายมนุษย์ เช่น สื่อสารได้ด้วยภาษาที่
มนุษย์ใช้ แปลงข้อความเป็นคําพูดหรือการแปลงคําพูดเป็นข้อความ
ผู้เชี่ยวชาญซึ่งเป็นการสร้างความรู้เฉพาะในแต่ละเรื่องทําให้คอมพิวเตอร์เป็นเสมือนมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญ
ที่คอยให้คําปรึกษาและตอบปัญหาในแต่ละเรื่องนั้น ๆ
ออกแบบสิ่งประดิษฐ์โดยมนุษย์ ให้มีปัญญาสามารถทํางานได้โดยอัตโนมัติเพื่อบรรลุเป้าหมายที่ได้ตั้ง
ไว้ เช่น ระบบผู้ช่วยอัจฉริยะ Google Maps ที่สามารถระบุเส้นทางได้อัตโนมัติตามเงื่อนไขที่กําหนด
โดยมีเป้าหมายว่าต้องไปถึงเป้าหมายในระยะทางที่สั้นที่สุดที่เป็นไปได้ เป็นต้น
มองเห็นภาพที่มีลักษณะเป็นวัตถุ 3 มิติ