Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 กฎหมายและจริยธรรมในยุคดิจิทัล นายจีราวัฒน์ คุ้มเถื่อน…
บทที่ 8
กฎหมายและจริยธรรมในยุคดิจิทัล นายจีราวัฒน์ คุ้มเถื่อน เลขขืี่15
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
ความหมายของกฎหมาย
กฎหมาย คือ กฎเกณฑ์ที่วางระเบียบเพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคม โดยมีสภาพบังคับให้บุคคล
กระทําหรือไม่ให้กระทํา เพื่อกําหนดความประพฤติของบุคคลในรัฐ หากผู้ใดฝ่าฝืนจะมีความผิดและถูกลงโทษ
ความสําคัญของกฎหมาย
กฎหมายเป็นเครื่องมือในการพัฒนาสังคม
กฎหมายเป็นเครื่องมือของรัฐในการบริหารประเทศ
กฎหมายเป็นตัวกําหนดความสําคัญของตัวบุคคล
กฎหมายเป็นเครื่องมือในการรักษาความสงบเรียบร้อยในสังคม
ลักษณะของกฎหมาย
กฎหมายเป็นคําสั่งหรือข้อบังคับที่กําหนดขึ้นจากคณะบุคคลที่มีอํานาจสูงสุดในรัฐ
เป็นคําสั่งหรือข้อบังคับที่ใช้ได้ทั่วไปในประเทศนั้น ๆ
เป็นข้อบังคับที่ใช้ได้เสมอไป
กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ คือ ต้องมีการกําหนดความผิด
ลําดับศักดิ์ของกฎหมายไทย
รัฐธรรมนูญ
เป็นฎหมายสูงสุดในการจัดการปกครองรัฐ
พระราชบัญญัติ
เป็นกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ตราขึ้นโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา เป็นบทบัญญัติ
เป็นกฎหมายที่จัดไว้เป็นหมวดหมู่ รวมเรื่องที่เกี่ยวข้องเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อง่ายต่อการใช้
คือ กฎหมายที่ตราขึ้นโดยพระมหากษัตริย์ โดยคําแนะนําของคณะรัฐมนตรีหรือเป็น
พระราชกฤษฎีกา
คณะรัฐมนตรี
พระราชบัญญัติ หรือพระราชกําหนด เพื่อใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยคําแนะนําของ
กฎกระทรวง
เป็นกฎหมายที่อาศัยอํานาจตามกฎหมายต่าง ๆ กําหนดรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา
ข้อบัญญัติท้องถิ่น
ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตําบล เป็นต้น
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Law) หรือมักเรียกกันว่า กฎหมายไอที (IT
Law) เสนอโดยกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม และเห็นชอบให้คณะกรรมการ
เทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ(National Information Technology Committee)
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Transactions Law)
เพื่อรับรองสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอข้อมูลที่ทําในกระดาษ อัน
เป็นการรองรับนิติสัมพันธ์ต่าง ๆ
กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Signatures Law)
เพื่อรับรองการใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยกระบวนการใด ๆ ทางเทคโนโลยีให้เสมอด้วย
การลงลายมือชื่อธรรมดา
กฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน (National
Information Infrastructure Law)
เพื่อก่อให้เกิดการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ อันได้แก่
โครงข่ายโทรคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศทรัพยากรมนุษย์
กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Law)
เพื่อก่อให้เกิดการรับรองสิทธิ และให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลซึ่งอาจถูกประมวลผล
กฎหมายเกี่ยวกับการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (Computer Crime Law)
เพื่อกําหนดมาตรการทางอาญา ในการลงโทษผู้กระทําผิดต่อระบบการทํางานของ
คอมพิวเตอร์ระบบข้อมูล และระบบเครือข่าย
กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Funds Transfer Law)
เพื่อกําหนดกลไกสําคัญทางกฎหมายในการรองรับระบบการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งที่
เป็นการโอนเงินระหว่างสถาบันการเงิน
พระราชบัญญัติการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. 2560
โดยที่เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในด้านดิจิทัลได้เข้ามามีบทบาทสําคัญในการ
พัฒนาและขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคม
ข้อมูลเบื้องต้น
ชื่อกฎหมาย
พระราชบัญญัติการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. 2560
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เล่ม 134 / ตอนที่ 10 ก / หน้า 1 / วันที่ 24 มกราคม 2560
เริ่มบังคับใช้
วันที่ 25 มกราคม 2560
ผู้รักษาการ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
นิยามที่สําคัญ
“ดิจิทัล” หมายความว่า เทคโนโลยีที่ใช้วิธีการนําสัญลักษณ์ศูนย์และหนึ่งหรือสัญลักษณ์อื่น
มาแทนค่าสิ่งทั้งปวง เพื่อใช้สร้าง หรือก่อให้เกิดระบบต่าง ๆ เพื่อให้มนุษย์ใช้ประโยชน์
สารระสําคัญ
หมวด 1 การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และ
ฉบับแก้ไข (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560
ข้อมูลเบื้องต้น
ชื่อกฎหมาย
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เล่ม 124 / ตอนที่ 27 ก / หน้า 4 / วันที่ 18 มิถุนายน 2550
เริ่มบังคับใช้
วันที่ 18 กรกฎาคม 2550
ผู้รักษาการ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เล่ม 134 / ตอนที่ 10 ก / หน้า 24 / วันที่ 24 มกราคม 2560
เริ่มบังคับใช้
24 พฤษภาคม 2560
ผู้รักษาการ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562
ในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่การทําธุรกรรมในปัจจุบันมีแนวโน้มที่จะ
ปรับเปลี่ยนวิธีการในการติดต่อสื่อสารที่อาศัยการพัฒนาการเทคโนโลยีทางอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งมีความ
สะดวก รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ข้อมูลเบื้องต้น
ชื่อกฎหมาย
พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์พ.ศ. 2544
แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562
ผู้รักษาการ
นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของจรรยาบรรณ
จรรยาบรรณ หมายถึง ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบการอาชีพการงานแต่ละอย่าง
กําหนดขึ้นเพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก
จรรยาบรรณการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
จรรยาบรรณผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเป็นสิ่งที่ทําให้สังคมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตควรยึดถือ เพื่อความ
เป็นระเบียบเกิดความรับผิดชอบต่อสังคม
2.1 ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทําร้ายหรือละเมิดผู้อื่น
2.2 ต้องไม่รบกวนการทํางานของผู้อื่น
2.3 ต้องไม่สอดแนมหรือแก้ไขเปิดดูในแฟ้มของผู้อื่น
ข้อที่ควรคํานึงในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.1 ไม่ควรให้ข้อมูลที่เป็นเท็จ
3.2 ไม่บิดเบือนความถูกต้องของข้อมูล ให้ผู้รับคนต่อไปได้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง
3.3 ไม่ควรเข้าถึงข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต
คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ในปัจจุบันการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นสิ่งจําเป็นสําหรับทุกองค์กร การเชื่อมโยง
สารสนเทศผ่านทางคอมพิวเตอร์ ทําให้สิ่งที่มีค่ามากที่สุดของระบบ คือ ข้อมูลและสารสนเทศ อาจถูก
จารกรรม ถูกปรับเปลี่ยน ถูกเข้าถึงโดยเจ้าของไม่รู้ตัว
คุณธรรมจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
คุณธรรม (Virtue) หมายถึง คุณงามความดี สิ่งที่มีคุณค่า มีประโยชน์ เป็นความดีงาม เป็น
มโนธรรม เป็นเครื่องประคับประคองใจให้เกลียดความชั่ว กลัวบาป ใฝ่ความดี
ประมวลกฎหมายเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่มีฐานะสูงกว่าบทกฎหมายอื่น ๆ
อ้างอิงและแก้ไขเพิ่มเติม ประมวลกฎหมายต้องตราเป็น พ.ร.บ.
พระราชกําหนด
กฎหมายที่ตราขึ้นโดยฝ่ายบริหารในสถานการณ์อันมีความจําเป็นรีบด่วนเพื่อประโยชน์แห่งรัฐ
เป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอํานาจตามรัฐธรรมนูญ
เป็นกฎหมายลสยลักษณ์อักษร ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงตราขึ้น โดยอาศัยอํานาจ ตาม
บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติ หรือกฎหมายที่มีฐานะเสมอกัน
ประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับ คําสั่งของกระทรวง
ทางทคนิค และกําหนดระยะเวลาการบังคับใช้บัญญัติของกฎหมาย
ข้อบัญญัติท้องถิ่น เป็นกฎหมายที่ตราโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น ข้อบัญญัติ
กรุงเทพมหานคร ข้อบัญญัติเมืองพัทยา ข้อบัญญัติเทศบาล ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด
เปิดเผยหรือเผยแพร่ถึงบุคคลจํานวนมากได้ในระยะเวลาอันรวดเร็วโดยอาศัยพัฒนาการทาง
เทคโนโลยี