Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฏหมายและจริยธรรมในยุคดิจิทัล (นายจิรโชติ นากา 2/2 เลขที่ 13) - Coggle…
กฏหมายและจริยธรรมในยุคดิจิทัล
(นายจิรโชติ นากา 2/2 เลขที่ 13)
ความสําคัญของกฎหมาย
กฎหมายเป็นเครื่องมือในการพัฒนาสังคม
กฎหมายเป็นเครื่องมือของรัฐในการบริหารประเทศ
กฎหมายเป็นตัวก าหนดความส าคัญของตัวบุคคล
กฎหมายเป็นเครื่องมือในการรักษาความสงบ
เรียบร้อยในสังคม
ลักษณะของกฎหมาย
กฎหมายเป็นคําสั่งหรือข้อบังคับที่กําหนดขึ้นจากคณะ
บุคคลที่มีอํานาจสูงสุดในรัฐ
เป็นคําสั่งหรือข้อบังคับที่ใช้ได้ทั่วไปในประเทศนั้น ๆ
เป็นข้อบังคับที่ใช้ได้เสมอไป
กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ คือ ต้องมีการก าหนด
ความผิด
กฎหมาย
คือ กฎเกณฑ์ที่วางระเบียบเพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคม โดยมีสภาพบังคับให้บุคคลกระท าหรือไม่ให้
กระทํา เพื่อกําหนดความประพฤติของบุคคลในรัฐ หากผู้ใดฝ่าฝืนจะมีความผิดและถูกลงโทษ
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Law)
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Transactions Law)
กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Signatures Law)
กฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน (National
Information Infrastructure Law)
กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Law)
กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Funds Transfer Law)
กฎหมายเกี่ยวกับการกระทำความผิดเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร์ (Computer Crime Law)
การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
1) การดําเนินการและการพัฒนาให้การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลก่อให้เกิดประโยชน์
2) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีดิจิทัลที่เป็นการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
3) การส่งเสริมสนับสนุนให้มีระบบการให้บริการหรือแอพพลิเคชั่น
4) การส่งเสริมให้เกิดมาตรฐานหรือกฎเกณฑ์ในการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัลให้สอดคล้องกัน ทํางานเชื่อมโยงกันได้อย่างมีความมั่นคงปลอดภัย
5) การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมและนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีดิจิทัล
6) การส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและพัฒนากําลังคน
7) การพัฒนาคลังข้อมูลและฐานข้อมูลดิจิทัล
จุดประสงค์
เพื่อให้การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศครอบคลุมการดำเนินงานในด้านต่างๆที่มีส่วนสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและการวางโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศอย่างเป็นระบบเพื่อลดความซ้ำซ้อนในการดำเนินงาน
ดิจิทัล” หมายความว่า เทคโนโลยีที่ใช้วิธีการน าสัญลักษณ์ศูนย์และหนึ่งหรือสัญลักษณ์อื่นมาแทนค่าสิ่งทั้งปวง เพื่อใช้สร้าง หรือก่อให้เกิดระบบต่าง ๆ เพื่อให้มนุษย์ใช้ประโยชน์
ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม” หมายความว่า ระบบเศรษฐกิจและสังคมที่มีกระบวนการหรือการด าเนินงานทาง
ดิจิทัลหรือทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยอาศัยโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
จุดประสคงค์เพื่อให้เกิดความเหมาะสมต่อการป้องกันและปราบปรามการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันซึ่งมีรูปแบบการกระทำความผิดที่ซับซ้อนมากขึ้นตามพัฒนาการทางเทคโนโลยีซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
ระบบคอมพิวเตอร์ หมายถึง อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมการทำงานเข้าด้วยกันโดยได้มีการกำหนดคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
การจัดทําข้อความขึ้นเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถเข้าถึงและนํากลับมาใช้ได้โดย
ความหมายไม่เปลี่ยนแปลง ให้ถือว่าข้อความนั้นได้ทําเป็นหนังสือ
2.นำเสนอหรือเก็บรักษาในรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้วิธีการที่เชื่อถือได้ในการรักษาความถูกต้องของข้อความ
ห้ามไม่ให้ปฏิเสธการรับฟังข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
คำเสนอหรือคำสนองในการทําสัญญาอาจทําเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้
การรับข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
6.การส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้ถือว่าได้มีการส่งเมื่อข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้นได้เข้าสู่ระบบข้อมูลที่อยู่
นอกเหนือการควบคุมของผู้ส่งข้อมูล
จรรยาบรรณการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
1) ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายหรือละเมิดผู้อื่น
2) ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น
3) ต้องไม่สอดแนมหรือแก้ไขเปิดดูในแฟ้มของผู้อื่น
4) ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5) ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
6) ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์
7) ต้องไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์
8) ต้องไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาและนำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน
9) ต้องคำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมอันติดตามมาจากการกระทำ
10) ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกามารยาท
คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
คุณธรรม (Virtue) หมายถึง คุณงามความดี สิ่งที่มีคุณค่า มีประโยชน์ เป็นความดีงาม เป็นมโนธรรม เป็นเครื่องประคับประคองใจให้เกลียดความชั่ว กลัวบาป ใฝ่ความดี
จริยธรรม (Ethics) หมายถึง หลักของความถูกและความผิดที่บุคคลใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ จริยธรรมมีบทบาทในการช่วยลดปัญหาอันเกิดจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในทางที่ไม่ถูกต้องไม่สมควร
ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)
ความถูกต้อง (Information Accuracy)
ความเป็นเจ้าของ (Information Property)
การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibillty)
จรรยาบรรณ หมายถึง ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบการอาชีพการงานแต่ละอย่างกําหนดขึ้นเพื่อรักษาและ ส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม้ก็ได้ จรรยาบรรณจึงเป็นหลัก