Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในอนาคต(นายภานุพงศ์ สว่าง2/3…
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในอนาคต(นายภานุพงศ์ สว่าง2/3 เลขที่26)
เทคโนโลยีบล็อกเชน (Blockchain Technology)
การประยุกต์ใช้บล็อกเชน
• การบริการที่เกี่ยวข้องกับการเงินและการลงทุน
การทําธุรกรรมออนไลน์ของธนาคาร
การวิเคราะห์ข้อมูลหุ้นเพื่อช่วยการตัดสินใจของนักลงทุน
การประยุกต์ใช้กับบิทคอยน์ (Bitcoin) เป็นต้น
บิทคอยน์(Bitcoin)
บิทคอยน์คือ สกุลเงินในรูปแบบของดิจิทัลแรกของโลกที่ได้รับความนิยม เป็นคริปโตเคอเรนซี(Cryptocurrency) หรือสกุลเงินที่มีการเข้ารหัสประเภทหนึ่งถูกสร้างขึ้นมาด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ไม่มีรูปร่างและไม่สามารถจับต้องได้เหมือนธนบัตรหรือเหรียญ
ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data)
เป็นเทคโนโลยีการประมวลผลข้อมูลข่าวสารที่มีจ านวนมากและหลากหลายรูปแบบ สามารถเพิ่มเข้ามาอย่างต่อเนื่องตลอดเวลาทั้งแบบที่เข้ามาตามขั้นตอนการประมวลผลหรือที่เข้ามาแบบเวลาจริง (Real Time) ทันทีทันใด
ความหมายของข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data)
ข้อมูลขนาดใหญ่ เป็นเทคโนโลยีการประมวลผลข้อมูลข่าวสารที่มีจํานวนมากและหลากหลายปแบบ สามารถเพิ่มเข้ามาอย่างต่อเนื่องตลอดเวลาทั้งแบบที่เข้ามาตามขั้นตอนการประมวลผล
รูปแบบและคุณลักษณะของข้อมูลขนาดใหญ่
ขนาด (Volume)
ความหลากหลาย (Variety)
ความเร็ว (Velocity)
ความจริง (Veracity)
อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (Internet of Things: IoT)
หมายถึง การเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้สามารถสื่อสารกันได้โดยอาศัยเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเป็นตัวกลางในการเชื่อมโยง และสามารถควบคุมสั่งการอุปกรณ์ต่างๆเหล่านั้นผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น การสั่ง เปิด ปิดหลอดไฟ หรืออุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า การสั่งรดน้ําต้นไม้ การสั่งสตาร์ทรถยนต์ ตลอดจนการส่งสัญญาณจากอุปกรณ์ปลายทางต่าง ๆ
องค์ประกอบสําคัญของอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
เครือข่ายอุปกรณ์รับรู้สัญญาณ (Wireless Sensor Network: WSN)
เทคโนโลยีการเข้าถึง (Access Technology)
บลูทูธ 4.0 (Bluetooth 4.0)
2.2 IEEE 802.15.4e
2.3 WLAN IEEE 802.11TM (Wi-Fi)
ตัวเชื่อมต่อเครือข่ายอุปกรณ์รับรู้สัญญาณ (Gateway)
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI)
คือ ความฉลาด ความรู้ที่สร้างขึ้นมาจากสิ่งที่ไม่มีชีวิต เป็นศาสตร์ที่อาศัยความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มีพื้นฐานมาจากวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ชีววิทยา จิตวิทยา ภาษาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
บ้านอัจฉริยะ (Smart Home)
1.1 ระบบเครือข่าย (Smart Home Network)
1.2 ระบบการควบคุมระบบอัจฉริยะ (Intelligent Control System)
1.3 อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านที่สามารถเชื่อมโยงกันได้ (Home Automation
Device)
1.4 อุปกรณ์ตรวจจับสัญญาณ (Sensor)
อุปกรณ์สวมใส่ (Wearable)
เมืองอัจฉริยะ (Smart City)
โครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Grid)
5.รถยนต์อัจฉริยะ (Connected car)
อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งภาคอุตสาหกรรม (Industrial Internet of Things: IIoT)
ระบบสุขภาพแบบครบวงจร (Connected health)
ฟาร์มอัจฉริยะ (Smart farming)
การแบ่งกลุ่มของปัญญาประดิษฐ์
ระบบที่คิดและให้เหตุผลได้เหมือนมนุษย์ (Systems that Think Like Humans)
ระบบที่กระทําได้เหมือนมนุษย์ (Systems that Act Like Humans)
ระบบที่สามารถคิดได้อย่างมีหลักการและเหตุผล (Systems that Think Rationally)
ระบบที่กระทําได้ตามหลักการและเหตุผล (Systems that Act Rationally)
เทคโนโลยีเสมือนจริง (Reality)
ด้วยเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าในปัจจุบัน อุปกรณ์สื่อต่างๆเช่น สมาร์ทโฟน ราคาถูกลงและมีการใช้งานอย่างแพร่หลายทําให้เทคโนโลยีเสมือนจริงถูกนํามาใช้ในงานด้านต่างๆไม่ว่าจะเป็นการเรียนการสอน การแพทย์การโฆษณาประชาสัมพันธ์ ภาพยนตร์ การเล่นเกมหรือทําการกิจกรรมอื่นๆ