Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ (Musculoskeletal System Pathology) - Coggle…
ระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ
(Musculoskeletal System Pathology)
ระบบกล้ามเนื้อ (Muscular System)
กล้ามเนื้อแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ
1.กล้ามเนื้อลาย (Skeletal muscle)
กล้ามเนื้อลายทำให้เกิดการเคลื่อนไหวของโครงกระดูกและส่วนอื่นๆภายใต้อำนาจจิตใจ
กล้ามเนื้อลาย แบ่งตามรูปร่างได้ 5 แบบ
1.กล้ามเนื้อแบน มีใยกล้ามเนื้อขนานกัน เช่น กล้ามเนื้อ external oblique
2.กล้ามเนื้อรูปขนนก มีใยกล้ามเนื้อคล้ายขนนก เช่น กล้ามเนื้อ Deltoid
3.กล้ามเนื้อรูปกระสวย มีใยกล้ามเนื้อคล้ายกระสวย กลมและปลายแหลม เช่น กล้ามเนื้อ biceps
4.กล้ามเนื้อรูปสี่เหลี่ยม มีใยกล้ามเนื้อเรียงตัวเป็นรูปสี่เหลี่ยม เช่นกล้ามเนื้อ pronator quadratus
5.กล้ามเนื้อวงกลมหรือหูรูด เป็ นกล้ามเนื้อที่อยู่ล้อมช่องเปิดหรือรู เช่นกล้ามเนื้อ orbicularis oculi
การทํางานของกล้ามเนื้อลาย
การทํางานของกล้ามเนื้อลายหน่วยที่ทํางานของกล้ามเนื้อเรียกว่า motor unit หรือหน่วยสั่งการซึ่งประกอบไปด้วยเส้นประสาทที่ควบคุมกล้ามเนื้อ เมื่อมีกระแสประสาทมาสั่งการจะทําให้ใยกล้ามเนื้อหดตัวพร้อมกัน โดยหน่วยสั่งการหนึ่งหน่วยจะควบคุมใยกล้ามเนื้อได้ตั้งแต่ 1-100 ใยกล้ามเนื้อ ขึ้นอยู่กับขนาดและหน้าที่ของกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อเรียบ (Smooth muscle)
กล้ามเนื้อชนิดนี้เมื่อส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์จะไม่มีลายถูกควบคุมด้วยระบบประสาทอัตโนมัติอยู่
นอกอํานาจจิตใจ กล้ามเนื้อชนิดนี้ส่วนใหญ่เป็นผนังของหลอดเลือดและผนังของระบบทางเดินอาหาร และพบได้ในผิวหนัง
กล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac muscle) กล้ามเนื้อหัวใจก่อตัวเป็นผนังหัวใจ ทํางานโดยประสาทอัตโนมัติทําให้เกิดการหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ อัตราเต้นหัวใจถูกควบคุมโดย peacemaker
กล้ามเนื้อแต่ละส่วนของร่างกายสามารถแยกเป็นส่วนต่างๆดังนี้
Head and Neck
กล้ามเนื้อ Corrugator Superciliiหน้าที่ ย่นหน้าผาก ขมวดคิ้ว จุดเกาะต้น หน้าผากจุดเกาะปลาย ระหว่างคิ้ว
Head and Neck
กล้ามเนื้อ Sternocleidomastoidหน้าที่ หันศีรษะ ก้มคอจุดเกาะต้น กระดูกอกและกระดูกไปลาร้าจุดเกาะปลาย Mastoid process
Upper limbs
กล้ามเนื้อ Deltoid หน้าที่ กางแขน งอแขนจุดเกาะต้น กระดูกต้นแขนจุดเกาะปลาย กระดูกไหปลาร้า แนวสันกระดูกสะบักเส้นเลือดที่มาเลี้ยงPosterior circumflex humeral arteryเส้นประสาทที่มาเลี้ยงAxillary Nerve
Pectoral
กล้ามเนื้อ Pectoralis Majorหน้าที่ งอและกางแขนจุดเกาะต้น กระดูกไหปลาร้าและหน้าอก
จุดเกาะปลาย กระดูกต้นแขนเส้นเลือดที่มาเลี้ยง
Thoracoacromial trunk เส้นประสาทที่มาเลี้ยง
Lateral pectoral nerve Medial pectoral nerve
Upper limbs
กล้ามเนื้อ Bicep brachiiหน้าที่ งอข้อศอก พลิกหงายแขน
จุดเกาะต้น Coracoid processจุดเกาะปลาย กระดูก radaius เส้นเลือดที่มาเลี้ยงMusculocutaneous nerve เส้นประสาทที่มาเลี้ยงBrachial artery
Abdominal
กล้ามเนื้อ Rectus abdominis หน้าที่งอลำตัว
จุดเกาะต้น เนินหัวหน่าวจุดเกาะปลาย ชายโครง
เส้นเลือดที่มาเลี้ยงInferior epigastric artery เส้นประสาทที่มาเลี้ยงThoracoabdominal nerve
Back
กล้ามเนื้อ Trapreziusหน้าที่ ควบคุมการเคลื่อนไหวของสะบัก เส้นเลือดที่มาเลี้ยงtransverse cervical artery เส้นประสาทที่มาเลี้ยง Accessory nerve
Lower limb
กล้ามเนื้อ Gluteus Maximusหน้าที่ หมุนและเหยียดขาเส้นเลือดที่มาเลี้ยง Gluteal artery เส้นประสาทที่มาเลี้ยง Gluteal nerve
Lower limb
กล้ามเนื้อ Tibialis Anteriorหน้าที่ กระดกปลายเท้าเส้นเลือดที่มาเลี้ยง Anterior tibial artery เส้นประสาทที่มาเลี้ยง Deep fibular nerve
ระบบโครงกระดูก Skeletal System
โครงกระดูกประกอบไปด้วยกระดูกและกระดูกอ่อน เป็นเนื้อเยื่อที่มีชีวิต มีลักษณะแข็ง เป็นส่วนประกอบหลักของร่างกาย
มี 206 ชิ้น สำหรับ ผู้ใหญ่ และเด็กมีกระดูก 350
ชิ้น ประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก คือ
1.กระดูกแกนกลาง
ประกอบไปด้วย กะโหลกศีรษะ คอ ซี่โครง สันหลัง กระเบนเหน็บและก้นกบ
2.กระดูกรยางค์
ประกอบด้วย กระดูกแขน ขาและเชิงกราน
พยาธิสภาพของกระดูกและกล้ามเนื้อ
Musculoskeletal system pathology
Achondroplasia
โรคกระดูกอ่อนไม่เจริญเติบโต เป็นความผิดปกติที่เกิดจากพันธุกรรมหรือการกลายพันธุ์ของยีน ส่งผลให้ผู้ป่วยมี
ภาวะแคระไม่สมส่วน แขนขาสั้น โครงหน้าผิดปกติ
Osteogenesis imperfecta
โรคกระดูกเปราะ สามารถพบโรคนี้ได้ในทุกเชื้อชาติ โดยทั่วไปผู้ป่วยมักมีอาการเหล่านี้ร่วมกัน คือ กระดูกเจริญ ไม่เต็มที่มวล กระดูกน้อย กระดูกเปราะ ทำให้กระดูกหักง่าย
Bone cancer หรือ Malignant bone tumor
โรคมะเร็งกระดูก
เป็นโรคของเด็กโต วัยรุ่น และวัยหนุ่มสาว ช่วงอายุประมาณ 10-20 ปีแต่อาจพบในช่วงอายุอื่นๆได้บ้างทั้งในเด็กเล็กจนถึงในผู้สูงอายุ ซึ่งโรคมะเร็งกระดูกพบได้เพียงประมาณ 6% ของโรคมะเร็งในเด็กทั้งหมด
พยาธิสภาพของกระดูกและกล้ามเนื้อ
Musculoskeletal system pathology
Neurogenic atrophy
โรคกล้ามเนื้อฝ่อลีบจากการบาดเจ็บของเส้นประสาทที่มาควบคุมกล้ามเนื้อ
Myasthenia Gravis
โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน
Muscular Dystrophies
โรคกล้ามเนื้อเสื่อม เป็นโรคที่มีภาวะผิดปกติทางระบบประสาทที่พบได้ทั้งในผู้ใหญ่และเด็ก เป็นโรคที่เป็นแต่กำเนิดกล้ามเนื้อจะค่อย ๆ เสื่อมสภาพ จนทำให้กล้ามเนื้อจะฝ่อลีบร่วมกับการมีภาวะอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ