Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่9 แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในอนาคต (นายอนาวิน โยธาวัน…
บทที่9 แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในอนาคต
(นายอนาวิน โยธาวัน )
ความก้าวหน้าและความสำเร็จของเทคโนโลยีในปัจจุบัน ได้ผลักดันให้เกิดผลกระทบอย่าง
กว้างขวางในทุกด้านไม่ว่า จะเป็นในชีวิต ประจําวัน สังคม การศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านธุรกิจและ อุตสาหกรรม
ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data)
รูปแบบและคุณลักษณะของข้อมูลขนาดใหญ่
ข้อมูลขนาดใหญ่สามารถมีรูปแบบได้หลากหลาย เช่น ข้อมูลเชิง พฤติกรรมการใช้งานต่าง ๆ ข้อมูลภาพ เสียง วีดีโอ ข้อความจากแอพพลิเคชั่น ต่าง ๆ เป็นต้น โดยทั่วไปแล้วข้อมูลขนาดใหญ่จะมี คุณลักษณะ ดังต่อไปนี้
ขนาด (Volume) ข้อมูลมีขนาดใหญ่
มีปริมาณข้อมูลมาก ซึ่งสามารถเป็นได้ทั้งข้อมูล แบบออฟไลน์หรือออนไลน์
ความหลากหลาย (Variety) ข้อมูลสามารถเป็นได้ทั้ง ที่มีโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง
ความเร็ว(Velocity) ข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาอย่างรวดเร็ว มีการส่งผ่าน
ข้อมูลอย่างต่อเนื่องในลักษณะสื่อผสม (Multimedia)
ความจริง (Veracity) ข้อมูลมีความไม่ชัดเจน (Uncleansed) อาจมีความไม่น่าเชื่อถือ (Untrusted)
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) ปัญญาประดิษฐ์ คือ ความฉลาด ความรู้ที่สร้างขึ้นมาจากสิ่ง ที่ไม่มีชีวิต เป็นศาสตร์ที่อาศัยความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มีพื้นฐานมาจากวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ชีววิทยา จิตวิทยา ภาษาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ วิศวกรรมศาสตร์ ทำให้คอมพิวเตอร์มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์แยกแยะและตัดสินใจคล้ายคลึงกับมนษุ ย์ ทั่วไป เพื่ออตอบสนองความต้องการของมนุษย์ สามารถทำงานและช่วยส่งเสริม กิจกรรมด้านต่าง ๆ ของมนุษย์ให้ดียิ่ง ขึ้น
การแบ่งกลุ่มของปัญญาประดิษฐ์
ระบบที่คิดและให้เหตุผลได้เหมือนมนุษย์
ระบบที่กระทําได้เหมือนมนุษย์
ระบบที่สามารถรถคิดได้อย่างมีหลักการและเหตุผล
ระบบที่กระทําได้ตามหลักการและเหตุผล
งานวิจัยด้าน ปัญญาประดิษฐ์
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems)
ภาษาธรรมชาติ (Natural Language)
วิทยาการหุ่นยนต์ (Robotics)
ตรรกศาสตร์ คลุมเครือ(Fuzzy Logic)
โครงข่ายประสาทเทียม (Artificial Neural Network)
เทคโนโลยีเสมือนจริง (Reality) ด้วยเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าในปัจจุบัน อุปกรณ์สื่อต่าง ๆ เช่น สมาร์ทโฟน ราคาถูกลงและมีการใช้งานอย่างแพร่หลายทำให้เทคโนโลยีเสมือนจริงถูกนํามาใช้ในงานด้านต่างๆ ไม่ว่า จะเป็นการเรียนการสอน การแพทย์ การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ภาพยนตร์ การเล่นเกม หรือ ทําการกิจกรรมอื่นๆ
ความจริงผสม (Mixed Reality : MR)
ความจริงเสริม (Augmented Reality: AR)
ความจริงเสมือน (Virtual Reality: VR)
การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่
(Big DataAnalytics)
เป็นเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่เพื่อค้นหารูปแบบความสัมพันธ์ของข้อมูล เหล่านั้นในฐานข้อมูลขนาดใหญ่ที่เต็มไปด้วยข้อมูล หลากหลายรูปแบบ เพื่อนํามาหารูปแบบ ความสัมพันธ์ที่ซ่อนอยู่ เช่นแนวโน้มการตลาด แนวโน้มความพึงพอใจของลูกค้า
รูปแบบการวิเคราะห์ Big Data โดยระดับของการวิเคราะห์สามารถเป็นได้หลายรูป แบบ ขึ้นอยู่กับการนําไปใช้งาน ได้แก่
การวิเคราะห์เชิงพรรณนา (Descriptive
Analytics)
การวิเคราะห์เชิงทํานาย (Predictive Analytics)
การวิเคราะห์แบบกําหนดเอง (Prescriptive Analytics)
จากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้กล่าวมาข้างต้นจะเห็น ว่าสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ กําลังเข้ามามีอิทธิพลต่อชีวิตประจําวันสังคม และการดําเนินธุรกิจอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ซึ่งจะส่งผล กระทบโดยตรงกับชีวิตประจําวันและสังคมของคนเราอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ นอกจากนั้นยังพบว่าเป็น เรื่องท้าทายสํา หรับองค์กรต่าง ๆ ที่ต้องปรับปรุงการดําเนินธุรกิจต่าง ๆ เพื่อให้สอดรับกับการ เปลี่ยนแปลงที่กําลังเกิดขึ้นนี้ ในขณะเดียวกันก็เป็นหน้าที่ของทุกคนที่ต้องศึกษาและทําความเข้าใจ เทคโนโลยีที่กําลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วนี้ โดยเฉพาะผู้บริหารหน่วยงานต่าง ๆ หรือ ผู้ประกอบการ ที่ต้องเร่งปรับตัวเพื่อรองรับ ความเปลี่ยนแปลงตามเทคโนโลยีให้ทัน เพื่อเพิ่ม ความสามารถในการ แข่งขันและความได้เปรียบทางธุรกิจต่อไป
อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง หมายถึง การเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่าง ๆ
ให้สามารถสื่อสารกันได้โดยอาศัย เทคโนโลยีอิน เทอร์เน็ตเป็นตัวกลางในการเชื่อมโยง และสามารถควบคุมสั่งการ
อุปกรณ์เหล่านั้นผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
เช่น การสั่งเปิด ปิดหลอดไฟ หรืออุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า
องค์ประกอบสําคัญของIoT
เครือ ข่ายอุปกรณ์ รับรู้สัญญาณ (Wireless
Sensor Network: WSN)
เทคโนโลยีการ เข้าถึง (Access Technology)
ตัวเชื่อมต่อ เครือข่ายอุปกรณ์ รับรู้สัญญาณ
(Gateway)
การประยุกต์ใช้ IOT
อุปกรณ์สวมใส่
ฟาร์มอัจฉริยะ
ระบบสุขภาพแบบครบวงจร
เมืองอัจฉริยะ
รถยนต์อัจฉริยะ
โครงช่วยไฟฟ้าอัจฉริยะ
บ้านอัจฉริยะ
1 more item...
เทคโนโลยีบล็อกเชน (Blockchain Technology) บล็อกเชน (Blockchain) เป็นเทคโนโลยี ใหม่ที่มีความปลอดภัย น่าเชื่อถือ และไม่ต้องอาศัยบุคคลที่ สามในการทำธุรกรรม ทำให้ธุรกรรมออนไลน์ใด ๆ สามารถทำได้อย่างสะดวกมากขึ้น ถึงแม้ว่าบุคคลที่ ร่วมทำธุรกรรมกันนั้นจะไม่เคยรู้จักกันมาก่อน ก็สามารถทำธุรกรรมกันได้ด้วยความมั่นใจและปลอดภัย ธุรกรรมต่าง ๆ
การประยุกต์ใชบ้ ล็อกเชน
• การบริการเกี่ยวข้องกับการเงินและการลงทุน
(Financial Technology : FinTech)
• การทําธุรกรรมออนไลน์ของธนาคาร
• การวิเคราะห์ข้อมูลหุ้นเพื่ออช่วยการตัดสินใจของนักลงทุน
• การประยุกต์ใช้กับบิทคอยน์ (Bitcoin)
• ธุรกิจประกันภัยที่มีการเก็บข้อมูลกรมธรรม์ ข้อมูลการ เคลมประกัน และข้อมูลการต่อประกันในปีต่อ ๆ ไป
• การทําธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ที่มีการขายและ แลกเปลี่ยน
ความหมายของข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ข้อมูลขนาดใหญ่ เป็นเทคโนโลยีการประมวลผลข้อมูลข่าวสารที่มีจํา นวนมากและหลากหลาย รูปแบบ สามารถเพิ่ม เข้ามาอย่างต่อเนื่องตลอดเวลาทั้ง แบบที่เข้ามาตามขั้นตอนการประมวลผลหรือเข้ามาแบบเวลาจริง (Real Time) ทันทีทันใด
บิทคอยน์ (Bitcoin) คือ
สกุลเงิน ในรูปแบบของดิจิทัลแรกของโลกที่ได้รับ ความนิยม เป็นคริปกติโตเคอเรนซี (Cryptocurrency) หรือ สกุลเงนิ ที่มีการเข้ารหสั ประเภทหนึ่ง ถูกสร้างขึ้นมาด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ไม่มี รูปร่างและไม่สามารถจับต้องได้เหมือนธนบัตรหรือเหรียญ บิทคอยน์ถูกประมวลผลโดยคอมพิวเตอร์ของ ผู้ใช้งานทั่ว โลก