Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบำบัดรักษาโรคทางจิตเวช (Treatment for psychiatric disorder) - Coggle…
การบำบัดรักษาโรคทางจิตเวช
(Treatment for psychiatric disorder)
ยารักษาโรคจิต (Antipsychotic drugs)
ชนิดของยา
การรักษาโรคจิตกลุ่มดั้งเดิม (Conventional Antipsychotics) ออกฤทธิ์ Dopamine receptor antagonists
Clorpromazine
Haloperidol
ฉีด IM มีความเข้ามข้นในร่างกายสูงสุด 10-20 นาที
ดูดซึมได้ดีในทางเดินอาหาร ขับออกทางปัสสาวะและอุจจาระในรูป metabolite และ free form
Fluphenazine
ขนาดยาที่ได้ผล 12.5-100 mg ทุก 2-5 สัปดาห์
ฉีดเข้าสะโพก
ผลข้างเคียง มีความเสี่ยงต่อการเกิด EPS มาก
ยารักษาโรคจิตชนิดใหม่ (Atypical psychotics) ออกฤทธิ์ Serotonin-Dopamine antagonists
Risperidone
ขนาดยาที่ได้ผล 2-8 mg
ทาน/ฉีดระยะยาว
ผลข้างเคียงอาจมีความดันต่ำเมื่อเปลี่ยนท่า และอาการ EPS
Clozapine
ขนาดยาที่ได้ผล 100-300 mg/day
ผลข้างเคียง ง่วงนอน ปัสสาวะลำบาก ความดันต่ำเมื่อเปลี่ยนท่า อาจมีภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำ
ผลข้างเคียง
อาการ EPS
Acute dystonia
กล้ามเนื้อบิดเกร็งทันที ตาเหลือก คอบิด หลังแอ่น ลิ้นแข็ง
การรักษา Trihexyphenidyl, Diazepam, Benztropine
Akathhisia
รู้สึกกระวนกระวายใจ อยู่ไม่นิ่ง
การรักษา Propranolol, Diazepam
Tardive dyskinesia
อาการดูดปาก ขมุบขมิบปาก เคี้ยวปากขยับขากรรไกรไปมา ลิ้นม้วนไปมา
เกิดจากการทานยานานมากกว่า 1 ปี
Parkinsonism
กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง, สั่นเป็นพักๆ, เคลื่อนไหวช้า, เดินไม่แกว่งแขน, ตัวงอ, สีหน้าเรียบเฉย
การรักษา Benztropine, Trihexyphenidyl
Neuroleptic malignant syndrome (NMS)
กล้ามเนื้อแข็งเกร็งอย่างมาก กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ serum creatinine สูง ระดับเอนไซม์ CK, AST, ALT, LDH สูง
พบน้อย แต่อาจอันตรายถึงชีวิต
ปากแห้งคอแห้ง
จิบน้ำบ่อยๆ เคี้ยวหมากฝรั่งที่ไม่มีน้ำตาล
ตาพร่า
จะมีอาการลดลงเมื่อใช้ยา 1-2 สัปดาห์
ความดันโลหิตต่ำเมื่อเปลี่ยนท่า
แนะนำให้ลุก ยืน เดิน นั่งช้าๆ
ผิวหนังไหม้เมื่อถูกแดด
ใส่เสื้อแขนยาว กางร่ม ทาครีมอันแดด
อาการง่วงนอน
หลีกเลี่ยงการทำงานในที่สูง รการใช้เครื่องจักร การขับขี่รถ ถ้าง่วงนอนมากขอพบแพทย์เพื่อขอปรับยา
มีน้ำนมหลั่ง หรือประจำเดือนผิดปกติ
เกิดอาการเหล่านี้ได้ แต่ไม่อันตราย
การรักษา
ตามชนิดของโรค
โรคจิตเฉียบพลัน
Start slow, Go slow
พิจารณาฉีด IM ถ้าไม่สามารถทานยาได้
ห้ามให้ยาฉีดชนิดออกฤทธิ์ยาว
โรคจิตชนิดเรื้อรัง
มีแนวโน้มได้รับประทานยาตลอดชีวิต
ควรได้รับยาขนาดต่ำที่สามารถควบคุมอาการได้
ผู้ป่วยไม่ให้ความร่วมมือ ให้ยาฉีดชนิดออกฤทธิ์ยาวได้
กรณีตอบสนองยาไม่ดี (Inadequate response)
ทบทวนการวินิจฉัย คำนึงถึงโรคร่วม
แยกภาวะโรคจิตที่เกิดจากสุรา หรือสารที่ออกฤทธิ์ต่อประสาท
กรณีผู้ป่วยทานยาไม่สม่ำเสมอ
พิจารณาให้ยาฉีดชนิดออกฤทธิ์ยาว
ปรับเพิ่มขนาดยา หรือปรับเป็นยาโรคจิตชนิดอื่น
ให้ยาโรคจิตกลุ่มใหม่
รายกรณี
ตั้งครรภ์/ให้นมบุตร
ยาสามารถผ่านรกและผ่านน้ำนมได้
หลีกเลี่ยงการทานยาในช่วงตั้งครรภ์ 3 เดือนแรก หากจำเป็นต้องใช้ในขนาดยาที่ต่ำมากๆ
ก่อนคลอด หยุดยาก่อน 5-10 วัน ป้องกันไม่ให้ทารกมีปัญหาทางเดินหายใจ กดการทำงานของสมอง
หลังคลอด หากจำเป็นต้องทานยา ควรงดให้นมบุตร
ห้ามให้ยาฉีดชนิดออกฤทธิ์ยาว
การพิจารณาหยุดยา
เริ่มนับตั้งแต่ไม่มีอาการโรคจิตเป็นเเวลา 12 เดือน
หากอาการไม่กำเริมให้ลดขนาดยาลงได้
ให้สังเกตอากรเตือน เช่น นอนไม่หลับ วิตกกังวล เครียด ซึมเศร้า
กรณีเป็นโรคจิตเรื้อรัง ให้ชั่งน้ำหนักระหว่างความเสี่ยงที่จะกลับมาเป็นซ้ำกับผลข้างเคียงของยา
ยารักษาอาการซึมเศร้า (Antidepressants)
การใช้ยาทางคลินิก
การรักษาเฉียบพลัน
ยาจะเห็นผลภายใน 1-2 สัปดาห์
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยตอบสนองต่อยา
บรรเทาอาการที่เป็นอยู่ให้ลดลง
ให้ความรู้เรื่องผลข้างเคียงของยา เพื่อให้ผู้ป่วยให้ความร่วมมือในการรักษา
การพิจารณาเปลี่ยนยาต้านเศร้า
เปลี่ยนเป็นยาต้ายเศร้าชนิดอื่นในกลุ่มเดียวกัน
เปลี่นนเป็นยาต้านเศร้ากลุ่มอื่น
การพิจารณาใช้ยาร่วมกัน
คำนึงถึงปฏิกิริยาระหว่างกันเป็นสำคัญ
ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้ยา
ประวัติการตอบสนองต่อยา
ความทนต่ออาการไม่พึงประสงค์ของยา
การเกิด drug interaction กับยาที่ผู้ป่วยกำลังใช้อยู่
พิจารณาจากโรคที่ผู้ป่วยเป็น
เภสัชศาสตร์ของยาแต่ละชนิด
ราคา
การรักษาระยะต่อเนื่อง
การใช้ขนาดยาเดิมรักษาต่อไป ไม่ให้เกิดอาการกำเริบ 4-9 เดือน แลพลดขนาดยาลงเพื่อหลีกเลี่ยงอาการถอนยา
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยกลับมาดำเนินชีวิตตามปกติได้
การป้องกันระยะยาว ป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำ
ผู้ป่วยมีอาการ major depressive disorder 3 ครั้งขึ้นไป
อายุมากกว่า 50 ปี มีอาการ major depressive disorder 2 ครั้งขึ้นไป
อายุมากกว่า 60 ปี มีอาการ major depressive disorder 1 ครั้งขึ้นไป
การตอบสนองต่อยาต้านเศร้า
สัปดาห์ที่ 1-2 ทางร่างกาย หลับได้ ทานได้
สัปดาห์ที่ 3-4 ทางพลังงาน ไม่มีอ่อนเพลีย
สัปดาห์ที่ 5-6 ทางอารมณ์
หญิงตั้งครรภ์
Fluoxetine ได้รับการศึกษามากสุด
SSRIs อยู่ใน Category C ยกเว้น Paroxetine
การที่ไม่ได้การรักษาเพิ่ม เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
ชนิดยาต้านเศร้า
Tricyclic Antidepressants (TCA) ยับยั้งการเก็บกลับของ monoamine neurotransmitter ทไให้มีระดับ Serotonin ในสมองเพิ่มขึ้น ex. Amitriptyline
ผลข้างเคียง
Sedation
อาการจะดีขึ้นเมื่อใช้ยาต่อเนื่องระยะหนึ่ง
ทานยาก่อนนอนแล้วตื่นเช้ามายังง่วง ให้ปรับเวลาทานยาให้เร็วขึ้น
ทานยาขนาดต่ำในช่วงกลางวัน ขนาดสูงในช่วงกลางคืน
Anticholinergic effect
เริ่มด้วขนาดต่ำ แบ่งให้หลายครั้ง
ปากแห้ง คอแห้ง
จิบน้ำบ่อยๆ อมน้ำแข็ง อมลูกอม
ท้องผูก
รับประทานผัก ผลไม้ที่มีกากใย ดื่มน้ำเยอะๆ
Postural hypotension
เปลี่ยนอิริยาบถช้าๆ
ควบคุมอาหาร
ออกกำลังกาย
Selective Serotonin Reuptake Inhibitors (SSRI) ยับยั้งการดูกลับของ serotonin ทำให้ synaptic cleft และ body มี serotonin ex.Fluoxetine, Sertraline
ผลข้างเคียง
Gi distress: nausea
Slower titration ให้พร้อมอาหาร
Insomnia
ให้เป็นมื้อเช้า
อาจให้ Trazodone
Sedation
ให้เป็นก่อนนอน
Akathisia
ลด dose หรือเปลี่ยนเป็นยาต้านเศร้าตัวอื่น
ปวดหัว
ลดขนาดยาลง
slower titation
Sexal dysfunction
ลด dose
เปลี่ยนเป็นยาอื่น
ให้ยาช่วย Sildenafil
Serotonin syndrome กล้ามเนื้อสั่น reflex ไว กล้ามเนื้อกระตุก เม็ดเลือดขาวสูง
หยุดยา serotonergic
รักษาแบบประคับประคอง
ให้ benzodiazepine
Tetracyclic antidepressant
MAOIs
SNRI
NaRIs
DNRI
SSRE
SARIs
NaSSA
ยาลดอาการข้างเคียงจากยารักษาโรคจิต (Anticholinergic drugs)
ออกฤทธิ์ลดปริมาณ acrtylcholine transmission และเพิ่มปริมาณ Dopamine transmission เพื่อให้เกิดความสมดุล
ข้อบ่งใช้
ผู้ป่วยได้ยาโรคจิตและมีผลข้างเคียง
ป้องกันการเกิดอาการข้างเคียงในการเกิดอาการ acute dystonia
ยา
ฺBenztropine (Cogestin)
Biperiden (Akineton)
Trihexyphenidyl (Artane)
Diphenhydramine (Benadryl)
อาการข้างเคียง
Anticholinergic effect: ปากแห้ง ตาพร่า ท้องผูก
คลื่นไส้ ท้องปั่นป่วน
sedation, drowsiness and dizziness
Anticholinergic delirium: สับสนไม่รู้เวลา และสถานที่
ยาปรับอารมณ์ (Mood stabilizers)
Lithium
ดูดซึมได้ดีในทางเดินอาหาร ถูกขับออกทางไตในรูปเดิม ไม่มี metabolite อาจทำให้ไตทำงานหนัก
ข้อบ่งใข้
Manic episode full effect 1-2 weeks
Depressive episode Onset 4-6 weeks
ใช้เพื่อลดความเสี่นงในการฆ่าตัวตายและการตาย
การใช้ยา
ยา Narrow therapeutic index ระวังเรื่อง Dose ยา
ควรเจาะเลือดหลังได้รับยาครั้งแรก 5-7 วัน และเจาะเจาะหลังอาหารมื้อสุดท้ายไปแล้ว 12 hr
หญิงตั้งครรภ์
หลีกเลี่ยงการใช้ยาในช่วง First trimester
ยาถูกขับออกทางน้ำนมมาก ถ้าใช้ยา ควรหยุดให้นมบุตร
ผลข้างเคียง
ระยะสั้น
ปัสสาวะบ่อย ปากแห้ง
ลดขนาดยา เปลี่ยนยาเป็นมื้อเดียว
คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง
เพิ่มขนาดยา
ทานยาพร้อมอาหาร
มือสั่น
อาจให้ Propranolol
อ่อนเพลีย
ลดขนาดยา
ระยะยาว
Hypothyroidism
หยุดยา หรือให้ Levothyroxine
Leucocytosis
ติดตาม CBC
Interstitial fibrosis
หยุดยา
อาการพิษจากยา
แบ่งเป็น 3 ระดับ
mild Toxicity (1.5-2.0 mEq/L)
ท้องเสีย อ่อนเพลีย เดินเซ
Moderate Toxicity (2.0-2.5 mEq/L)
กล้ามเนื้อมัดเล็กกระตุก Depp tendon reflex ไว ระบบไหลเวียนโลหิตล้มเหลว
Severe Toxicity (>2.5 Meq/L)
ชัก ระบบหายใจล้มเหลว ไตวาย เสียชีวิต
การรักษา
หยุดยาทันที
เจาะแลป
รักษาสมดุลน้ำและเกลือแร่
ทำ Hemodialysis
กรณีที่ทำ
Coma, shock, Severe dehydrate
ระดับยาลิเทียม> 3-4 mEq/L
อาการไม่ดีขึ้นใน 24 hr
Valproic acid (Depakine)
ยาถูกดูดซึมได้ดีในทางเดินอาหาร ถูก mrtabolite ถูกขับออกทางปัสสาวะ
ผลข้างเคียง
Gastrointestinal complaints
รับประทานพร้อมอาหาร
เริ่มยาในขนาดต่ำ
Daytime sedation
ปรับการทานยาเป็นมื้อก่อนนอน
Fine hand tremors
เพิ่มยา Prapranolol
ผมร่วง (ชั่วคราว)
เพิ่มวิตามินที่มี Zinc และ Selenium
Hepototoxicity
สังเกตอาการคลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ตัวเหลือง บวม หากมาอาการให้รีบมาพบแพทย์
Carbamazepine (Tegretol)
ยาถูกดูดซึมที่ตับ ถูก metabolite ที่ตับ
ผลข้างเคียง
คลื่นไส้ อาเจียน
ค่อยๆ ปรับเพิ่มขนาดยา
ง่วงซึม เดินเซ เห็นภาพซ้อน
ลดขนาดยา
Stevens-Lohnson syndropme
หยุดยา รักษาตามอาการ
Luecopenia
พบบ่อย เป็นชั่วคราว ไม่รุนแรง
Lamotrigine (Lamictal)
ใช้ Bipolar disorder ไม่ตอบสนองกับยาอื่น
ผลข้างเคียง
คลื่นไส้ ง่วงซึม อ่อนเพลีย เวียนศีรษะ เดินเซ
Stevens-Johnson syndrome
รักษาโรค Biporlar
หญิงตั้งครรภ์
หลีกเลี่ยงการใช้ยาในช่วง First trimester
ยาถูกขับออกทางน้ำนม หากต้องทานยาควรหยุดให้นมบุตร
ยาลดอาการวิตกกังวล (Antianxiety drugs)
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
ฺBenzodiazepines เช่น Diazepam, Lorazepam
shot action
พบ interdose anxiety บ่อย
พบ Renound anxiety
ความเสี่ยงต่อการติดยาสูง
มีความรุนแรงของภาวะขาดยามาก
พบ Paradoxial side effect เกิดบ่อย
พบ Anterograde amsenia บ่อย
มีการดูดซึมเร็วหากฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
ผลเสีย
ส่งผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง
ให้ activated chorcoal ลดการดูดซึม หากอาการไม่รุนแรง
การให้ Flumazenil หากอาการรุนแรง เช่น Coma ซึมมาก
แนะนำไม่ให้ขับรถ หรือทำงานกับเครื่องจักร
ผลต่อระบบอื่นๆ เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ปากแห้ง ลิ้นบวม
ทำให้ดื้อยา ติดยาได้
หากหยุดยาจะมีอาการถอนยา
Long action
การสะสมของยาบ่อย
ฤทธ์ง่วงตกค้างน้อย-ปานกลาง
ความเสี่ยงต่อการติดยาสูง
ความรุนแรงของภาวะขาดยาน้อย-ปานกลาง
มีการดูดซึมช้าหากฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
ความเสี่ยงต่อการฉีดเข้ากล้ามเนื้อสูง หากฉีดเร็ว
Active metabolite สูง
Non-Benzodiazepine เช่น Propranolol, Antidepressnt
ฺBata-Blocker : Propranolol
ช่วยลดอาการทางกาย เช่น ใจสั่น มือสั่น
Antidepressant
เหมาะกับอาการวิตกกังวลจากโรคซึมเศร้า
ฺBuspirone
ไม่ง่วงนอน ไม่ทำให้เสพติด
Antihistamine
มีฤทธิ์ Sedative
ดูดซึมได้ดีทางเดินอาหาร ถูกทำลายที่ตับ ขับออกทางปัสสาวะ ยาละลายได้ดีในไขมัน
การรักษา
GAD
Low potency, long acting benzodiazepines
Chronic anxiety ให้ antidepressant+benzodiazepines
Panic disorder
Low potency, long acting benzodiazepines
Acute phase
reduction of symptoms
alprazolam ยาออกฤทธิ์เร็ว
clonazepam ไม่มี interdose anxiety
Long term
use benzodiazepine
ถ้าติดยา พิจารณาให้ SSRI
ทำให้เกิดอาการถอนยาเมื่อหยุดยา
ค่อยๆปรับลดขนาดยาลง
Phobia
Acute phase
ลดอาการทางกายของการวิตกกังวล เช่น หน้าแดง วูบวาบ เหงื่ออก
ใช้ยา Cloazepam
Continuation
ลดอาการวิตกกังวล ถึงความสามารถในการจัดการ
Alcohol withdrawal syntoms
Benzodiazepine ช่วยลดอาการขาดสุรา
Agitation
Tremor
delirium tremens
hallucination