Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 กฎหมายและจริยธรรมในยุคดิจิทัล (อชิตพล ตุลพงษ์) - Coggle Diagram
บทที่ 8
กฎหมายและจริยธรรมในยุคดิจิทัล
(อชิตพล ตุลพงษ์)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
ความหมายของกฎหมาย
ความหมายของกฎหมาย
กฎหมาย คือ กฎเกณฑ์ที่วางระเบียบเพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคม โดยมีสภาพบังคับให้บุคคล
กระทําหรือไม่ให้กระทํา เพื่อกําหนดความประพฤติของบุคคลในรัฐ หากผู้ใดฝ่าฝืนจะมีความผิดและถูกลงโทษ
ความสําคัญของกฎหมาย
กฎหมายเป็นเครื่องมือในการพัฒนาสังคม
กฎหมายเป็นเครื่องมือของรัฐในการบริหารประเทศ
กฎหมายเป็นเครื่องมือในการรักษาความสงบเรียบร้อยในสังคม
กฎหมายเป็นตัวกําหนดความสําคัญของตัวบุคคล
ลักษณะของกฎหมาย
กฎหมายเป็นคําสั่งหรือข้อบังคับที่กําหนดขึ้นจากคณะบุคคลที่มีอํานาจสูงสุดในรัฐ
เป็นคําสั่งหรือข้อบังคับที่ใช้ได้ทั่วไปในประเทศนั้น ๆ
เป็นข้อบังคับที่ใช้ได้เสมอไป
กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ คือ ต้องมีการกําหนดความผิด
ลําดับศักดิ์ของกฎหมายไทย
รัฐธรรมนูญ
พระราชบัญญัติ
ประมวลกฎหมายเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่มีฐานะสูงกว่าบทกฎหมายอื่น ๆ
พระราชกําหนด
พระราชกฤษฎีกา
กฎกระทรวง
ประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับ คําสั่งของกระทรวง
ข้อบัญญัติท้องถิ่น
นิยามที่สําคัญ
“ดิจิทัล” หมายความว่า เทคโนโลยีที่ใช้วิธีการนําสัญลักษณ์ศูนย์และหนึ่งหรือสัญลักษณ์อื่น
มาแทนค่าสิ่งทั้งปวง เพื่อใช้สร้าง หรือก่อให้เกิดระบบต่าง ๆ เพื่อให้มนุษย์ใช้ประโยชน์
สารระสําคัญ
หมวด 1 การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
มาตรา 6 นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม มี
เป้าหมายและแนวทางอย่างน้อย ดังต่อไปนี้
(4) การส่งเสริมให้เกิดมาตรฐานหรือกฎเกณฑ์ในการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัลให้
สอดคล้องกัน
(3) การส่งเสริมและสนับสนุนให้มีระบบการให้บริการหรือแอพพลิเคชั่นสําหรับ
ประยุกต์ใช้งานด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล
(2) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีดิจิทัลที่เป็นการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคม
(6) การส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและพัฒนากําลังคน ให้เกิดความพร้อมและ
ความรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล
(1) การดําเนินการและการพัฒนาให้การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลก่อให้เกิดประโยชน์
สูงสุด
(5) การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาให้เกิดอุตสาหกรรมและนวัตกรรมด้านเทคโนโบยีดิจิทัล
(7) การพัฒนาคลังข้อมูลและฐานข้อมูลดิจิทัล การบริหารจัดการความรู้ รวมทั้งการส่งเสริมเพื่อให้มีระบบที่เป็นศูนย์แห่งการเรียนรู้
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และ
ฉบับแก้ไข (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เริ่มบังคับใช้
ผู้รักษาการ
แก้ไขเพิ่มเติม
ผู้รักษาการ
เริ่มบังคับใช้
ชื่อกฎหมาย
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
สารระสําคัญ
หมวด 1 ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ฐานความผิดและบทลงโทษสําหรับการกระทําโดยมิชอบ มีดังนี้
มาตรา 5 การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์
มาตรา 6 การล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึง
มาตรา 7 การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์
มาตรา 8 การดักข้อมูลโดยมิชอบ
มาตรา 9 การแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์
มาตรา 10 ขัดขวาง ระบบคอมพิวเตอร์
มาตรา 11 สแปมเมล์ (spam mail)
มาตรา 12 การกระทําความผิดต่อประชาชนโดยทั่วไป/ความมั่นคง
มาตรา 13 การจําหน่าย/เผยแพร่ชุดคําสั่งเพื่อใช้กระทําความผิด
มาตรา 14 นําเข้า/ปลอม/เท็จ/ภัยมั่นคง/ลามก/ส่งต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์
มาตรา 15 ความรับผิดของผู้ให้บริการ
มาตรา 16 การเผยแพร่ภาพ ตัดต่อ/ดัดแปลง
มาตรา 17 ผู้ใดกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้นอกราชอาณาจักร
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน
กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
กฎหมายเกี่ยวกับการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์
ชื่อกฎหมาย
เริ่มบังคับใช้
ผู้รักษาการ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
พระราชบัญญัติการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. 2560
พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562
คํานิยามศัพท์ที่สําคัญ (มาตรา 4)
ธุรกรรม หมายความว่า การกระทําใดๆ ที่เกี่ยวกับกิจกรรมในทางแพ่งและพาณิชย์ หรือในการดำเนินงานของรัฐตามที่กำหนดในหมวด 4 เรื่องธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
ธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
บทกําหนดโทษ
คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
คุณธรรมจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
[บทสรุป]
ถึงแม้ว่าในปัจจุบันบางประเทศที่พัฒนาแล้วจะมีกฎหมายควบคุมสื่ออินเทอร์เน็ต ก็ยังไม่
สามารถควบคุมภัยล่อลวงต่าง ๆ จากสื่ออินเทอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพอย่างเด็ดขาดเต็มที่
โดยเฉพาะควบคุมดูแลการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารบนสื่ออินเทอร์เน็ตนั้นก็ยังเป็นปัญหา โดยเฉพาะการ
เผยแพร่สื่อสารลามกหรือบ่อนการพนัน ซึ่งปัญหาดังกล่าว นอกจากจะเกี่ยวข้องกับสิทธิส่วนบุคคลใน
การเข้าถึงข้อมูล การก้าวก่ายสิทธิเสรีภาพในการแสดงออก ซึ่งเป็นสิทธิพื้นฐานของประชาชน ยัง
อาจจะขัดต่อกฎหมายรัฐธรรมนูญของประเทศอีกด้วย