Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 แนวโน้มเทคโนโลยีดิจิทัลในอนาคต นาย จิรวัฒน์ โรหัง - Coggle Diagram
บทที่ 9 แนวโน้มเทคโนโลยีดิจิทัลในอนาคต
นาย จิรวัฒน์ โรหัง
อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (Internet of things:IoT)
หมายถึง การเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้สามารถสื่อสารกันได้โดยอาศัย เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเป็นตัวกลางในการเชื่อมโยง และสามารถควบคุมสั่งการอุปกรณ์เหล่านั้นผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
องค์ประกอบสำคัญของ IoT
เครือข่ายอุปกรณ์ รับรู้สัญญาณ (Wireless Sensor
Network: WSN)
เป็นอุปกรณ์ตรวจจับและส่งข้อมูล เช่น ตรวจจับความสว่าง อุณหภูมิ ความชื้น ความเคลื่อนไหว
เทคโนโลยีการ เข้าถึง (Access
Technology)
• Bluetooth
• IEEE 802.15.4e
• Wi-Fi
ตัวเชื่อมต่อ เครือข่ายอุปกรณ์ รับรู้สัญญาณ
(Gateway)
การประยุกต์ใช้ IoT
เทคโนโลยีในกำรระบุตำแหน่งบนพื้นโลก (Global Positioning System: GPS)
เทคโนโลยีภูมิสำรสนเทศ (Geographic Information System: GIS)
เทคโนโลยีกำรรับรู้ระยะไกล (Remote Sensing)
เทคโนโลยีกำรรับรู้ระยะใกล้ (Proximal Sensing)
แบบจำลองการเพราะปลูกและระบบ สนับสนุนกรตัดสินใจ (Crop Models and Decision Support System)
เทคโนโลยีบล็อกเชน (Blockchain technology)
บล็อกเชน (Blockchain) เป็นเทคโนโลยีใหม่ที่มีความปลอดภัยน่าเชื่อถือ และไม่ต้องอาศัยบุคคลที่สามในการทำธุรกรรม ทำให้ธุรกรรมออนไลน์ใด ๆ สามารถทำได้อย่างสะดวกมากขึ้น
บิทคอยน์ (Bitcoin)
บิทคอยน์ คือ สกุลเงินในรูปแบบของดิจิทัลแรกของโลกที่ได้รับความนิยม เป็นคริปโตเคอเรนซี (Cryptocurrency)
การประยุกต์ใช้บล็อกเชน
• การบริการที่เกี่ยวข้องกับการเงินและการลงทุน (Financial Technology : FinTech)
• การทำธุรกรรมออนไลน์ของธนาคาร
• การวิเคราะห์ข้อมูลหุ้นเพื่อช่วยการตัดสินใจของนักลงทุน
• การประยุกต์ใช้กับบิทคอยน์ (Bitcoin)
• ธุรกิจประกันภัยที่มีการเก็บข้อมูลกรมธรรม์ ข้อมูลการ เคลมประกัน และข้อมูลการต่อประกันในปีต่อ ๆ ไป
• การท าธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ที่มีการซื้อขายและแลกเปลี่ยน
ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data)
ข้อมูลขนาดใหญ่ เป็นเทคโนโลยีการประมวลผลข้อมูล
ข่าวสารที่มีจำนวนมากและหลากหลายรูปแบบ สามารถเพิ่มเข้ามาอย่างต่อเนื่องตลอดเวลาทั้งแบบที่เข้ามาตามขั้นตอนการประมวลผล หรือที่เข้ามาแบบเวลาจริง
รูปแบบและคุณลักษณะของข้อมูลขนาดใหญ
ขนาด (Volume) ข้อมูลมีขนาดใหญ่ มีปริมาณข้อมูลมาก ซึ่งสามารถเป็นได้ทั้งข้อมูล แบบออฟไลน์หรือออนไลน์
ความหลากหลาย (Variety) ข้อมูลสามารถเป็นได้ทั้งที่มีโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง
ความเร็ว (Velocity) ข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาอย่างรวดเร็ว มีการส่งผ่าน ข้อมูลอย่างต่อเนื่องในลักษณะสื่อผสม (Multimedia)
ความจริง (Veracity) ข้อมูลมีความไม่ชัดเจน (Uncleansed) อาจมีความไม่น่าเชื่อถือ Untrusted
รูปแบบการวิเคราะห์ Big Data
การวิเคราะห์เชิงพรรณนา (Descriptive Analytics)
การวิเคราะห์เชิงทำนาย (Predictive Analytics)
การวิเคราะห์แบบกำหนดเอง (Prescriptive Analytics)
เทคโนโลยีเสมือนจริง (Reality)
ความจริงเสมือน (Virtual Reality: VR)คือ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการจำลองสภาพแวดล้อมที่ใกล้เคียงความเป็นจริงขึ้นมา และยังรวมถึงการจำลองข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวกับประสาทสัมผัสด้วย
ความจริงเสริม (Augmented Reality: AR)
เทคโนโลยีความจริงเสริมเป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการเชื่อมโยงโลกแห่งความจริงเข้ากับโลกเสมือน โดยใช้อุปกรณ์ทางด้านฮาร์ดแวร์ร่วมกับซอฟต์แวร์ทำให้สามารถมองเห็นภาพที่มีลักษณะเป็นวัตถุ 3 มิติ
ความจริงผสม (Mixed Reality : MR) คือ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีความจริงเสมือน (Virtual Reality) และเทคโนโลยีความจริงเสริม (Augmented Reality) เข้าด้วยกันเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในโลกความจริง
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI)
ปัญญาประดิษฐ์ คือ ความฉลาด ความรู้ที่สร้างขึ้นมาจากสิ่งที่ไม่มีชีวิต เป็นศาสตร์ที่อาศัยความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ที่มีพื้นฐานมาจากวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ชีววิทยา จิตวิทยา ภาษาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์
การแบ่งกลุ่มของปัญญำประดิษฐ์
ระบบที่คิดและให้เหตุผลได้เหมือนมนุษย์ (Systems that Think Like Humans)
ระบบที่กระทำได้เหมือนมนุษย์ (Systems that Act Like Humans)
ระบบที่สำมำรถคิดได้อย่ำงมีหลักการและเหตุผล (Systems that Think Rationally)
ระบบที่กระทำได้ตำมหลักการและเหตุผล (Systems that Act Rationally)