Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Phathophysiology of Nervous System Injury - Coggle Diagram
Phathophysiology of Nervous System Injury
พยาธิสภาพของการบาดเจ็บที่ศีรษะ
สาเหตุของการเกิดการบาดเจ็บที่ศรีษะมีการหลายสาเหตุเช่นอุบัติเหตุจราจร ตกจากที่สูง ทำร้ายร่างกาย
ผลของการบาดเจ็บที่ศีรษะขึ้นอยู่กับปัจจัย 3 อย่างได้แก่
ความรุนแรงของการบาดเจ็บ
อายุของผู้ป่วย
คุณภาพของการรักษาพยาบาล
กเปลี่ยนแปลงของระดับความรู้สึกตัว Full consciousness รู้สึกตัวดี มีการรับรู้ปกติ
Confusion รู้สึกสับสนและมีความผิดปกติเกี่ยวกับการตัดสินใจ 3. Disorientation การรับรู้ผิดปกติ
ผลของการบาดเจ็บที่ศีรษะ
ผู้ป่วยบาดเจ็บทีศีรษะเล็กน้อย ( minor head injury ) ผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะปานกลาง (moderate head injury ) 3. ผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะอย่างรุนแรง ( Severe head injury ) • มีความพิการอย่างรุนแรง ร้อยละ 20. • มีความพิการปานกลางร้อยละ 40
• หายเป็นปกติ ร้อยละ 40
ความรุนแรงของการบาดเจ็บที่ศีรษะ
การบาดเจ็บที่ศีรษะเล็กน้อย (minor head injury) : GCS 13-15 คะแนน การบาดเจ็บที่ศีรษะปานกลาง ( moderate head injury )
: GCS 9-12 คะแนน
การบาดเจ็บที่ศีรษะอย่างรุนแรง ( severe head injury ) : GCS 3-8 คะแนน
การบาดเจ็บที่ศีรษะระยะแรก เป็นการบาดเจ็บที่เกิดทันทีมีแรงกระทบต่ออวัยวะชั้นต่างๆ
การบาดเจ็บหนังศีรษะ (scalp) บวม ช้ำ หรือโน (contusion)
การบาดเจ็บกะโหลกศีรษะ ( skull )
กะโหลกแตกร้าวเป็นแนว ( linear skull fracture ) กะโหลกแตกยุบ ( depressed skull fracture )
กะโหลกแตกร้าวบริเวณฐาน ( basilar skull fracture )
การบาดเจ็บต่อเนื้อสมอง (Brain) 1) แบบปิด (Closed head injury)
2) แบบเปิด (Open head injury)
การบาดเจ็บที่ศีษะระยะสอง เป็นภาวะแทรกซ้อนที่เกิดหลังการบาดเจ็บหลังจากการบาดเจ็บระยะแรก โดยใช้ระยะเวลาเป็นนาที ชั่วโมง หรือเป็นวัน
ภาวะสมองเคลื่อน ( brain displacement ) เป็นภาวะที่เนื้อสมองเคลื่อนสู่บริเวณอื่นที่ไม่ใช่ตำแหน่งที่ตั้งตามปกติ
มีเลือดออกในกะโหลกศีรษะ ( intracranialhematom)
Epidural hemato
Subdural hematoma
Subarachnoid hematoma
Intracerebral hematoma
ความดันในโพรงกะโหลกศีรษะสูง(increased intracranial pressure ) ภาวะที่มีความดันของสารเหลวในช่องเวนตริเคิล
(ventricular fluid pressure)
สมองบวม ( cerebral edema) เป็นภาวะที่เนื้อสมองเพิ่มปริมาตรเนื่องจากการบวมน้ำภายหลังได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ
ระบบประสาท
(Nervous System)
ระบบประสาทส่วนกลาง (Central Nervous system :CNS)
ทำหน้าที่ควบคุมประสานการทำงานในระบบต่างๆ ของ ร่างกายภายในกะโหลกศีรษะ
เนื้อสมอง 80% เลือด 10% น้ำไขสันหลัง (CSF) 10%
Link Title
การบาดเจ็บโดยอ้อม ( indirect injury ) คือ การบาดเจ็บที่เกิดขึ้นกับส่วนอื่น ของร่างกาย แล้วมีผลสะท้อน ทำให้เกิดการ บาดเจ็บที่ศีรษะขึ้นเช่น ตกจากที่ สูงกันกระแทกพื้น ศีรษะคว่ำ ไปข้างหน้าหรือหงายไปด้านหลังอย่างรวดเร็ว
การบาดเจ็บโดยตรง ( direct injury ) มี 2 ชนิด คือ
1.1 บาดเจ็บที่เกิดขณะศีรษะอยู่นิ่ง ( static head injury )
1.2 บาดเจ็บที่เกิดขณะศีรษะเคลื่อนที่ ( dynamic head injury )
1.1สมอง
1.สมองส่วนหน้า
• Cerebrum
แบ่งออกเป็น 4 lobe ได้แก่
Frontal lobe 2. Parietal lobe
3.emooral love 4 Occloral looe • Thalamus
• Hypothalamus
2.สมองส่วนกลาง
3.สมองส่วนหลัง
Brain stem • mic prain - Pons
-medulla oblongatd
-Pons
•Medulla oblongata
•Cerebellum
1.2 ไขสันหลัง
ระบบประสาทส่วนปลาย (Peripheral Nervous system :PNS) หน้าที่ของไขสันหลังเป็นทางผ่านของกระแสประสาทระหว่าง หน่วยรับความรู้สึก กับ สมอง สามารถสั่งการได้เอง ให้หน่วยปฏิบัติงานทำงาน เป็นศูนย์กลาง Spinal reflex action ของลำตัวแขนขา
ความดันในกระโหลกศีรษะสูง
(increased intracranial pressure; IICP)
สาเหตุที่ทำให้เกิดความดันในกระโหลกศีรษะสูง
1.ความผิดปกติของเนื้อเยื่อสมอง เช่น มีก้อนในสมอง
2.การเพิ่มของเลือดที่ไปเลี้ยงสมองมากขึ้น เลือดดำไหลกลับไม่สะดวก 3.การเพิ่มขึ้นของน้ำไขสันหลัง อาจเกิดจากสาเหตุที่มีการผลิตมากขึ้น
ปัจจัยส่งเสริมให้เกิดความดันในกระโหลกศีรษะการหายใจไม่เพียงพอ ทำให้เลือดดำไหลกลับไม่สะดวก
การจัดท่านอนไม่เหมาะสม
Tanguy tin mri, may ma pos
Neurotransmitters
•ครบคุมการเคลื่อนไหวของร้างได้แก่ acelycholine: Ach - ควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกาย - ควบคุมการทำงานของอวัยวะในร่างกายแบบอัตโนมัติ - สารสื่อประสาทกลุ่ม serotonin - สารสื่อประสาทกลุ่มกรดอะมิโน - ควบคุมสารสื่อสัญญาณประสาทในสมอง - สารสื่อประสาทกลุ่มNeuropeptides - ควบคุมความรู้สึกเจ็บปวด
หลอดเลือดที่มาเลี้ยงสมอง
หลอดเลือดที่มาเลี้ยงสมองมี 2 เส้นหลัก คื อ
internal carotid artery uas vertebral artery
แขนงของหลอดเลือดที่ประกอบเป็น circle of Willis ได้แก่
• Anterior cerebral artery
• Anterior communicating artery
• Internal carotid artery
• Posterior cerebral artery
• Posterior communicating artery