Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบต่อไร้ท่อ (Endocrine system) - Coggle Diagram
ระบบต่อไร้ท่อ
(Endocrine system)
ประเภทของต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อที่จำเป็นต่อสิ่งมีชีวิต
(Essential endocrine gland)
ถ้าต่อมผิดปกติ สร้างฮอร์โมนไม่ได้ จะทำให้ตาย
มี 3 ต่อม ได้แก่
ต่อมพาราไทรอยด์
ชั้นนอกของเปลือกต่อมหมวกไต >> สร้างฮอร์โมนอัลโดสเตอโรนควบคุมระดับโซเดียมในเลือด
ไอส์เลทของตับอ่อน >> สร้างฮอร์โมนอินซูลินควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
มีความสำคัญต่อร่างกาย ขาดไม่ได้
ต่อมไร้ท่อที่ไม่จำเป็นต่อชีวิต
(Nom-essential endocrine gland)
ต่อมใต้สมอง
ต่อมไทรอยด์
ส่วนในของต่อมหมวกไตหรืออะดรีเมดุลลา
ต่อมไพเนียล
ต่อมไทมัส
อินเตอร์ติเซียลเซลล์, ฟอลลิเกิล, คอพัส ลูเตียม
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมใต้สมอง
(Pituitary gland)
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
(Anterior lobe)
Gonadotropin:
ฮอร์โมนกระตุ้นการสร้างเซลล์สืบพันธ์ุ
FSH: กระตุ้นการสร้างไข่และสเปิร์มเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
LH: กระตุ้นการเติบโตของสเปิร์มและการตกไข่ในวันที่ 14 ของรอบเดือน
TSH:
กระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้สร้างและหลั่ง Thyroxin
Prolactin:
กระตุ้นการสร้างน้ำนมในหญิงใกล้คลอด หรือหลังคลอด
ACTH:
กระุต้น Adrenal cortex สร้างและกระตุ้นฮอร์โมน
GH:
กระตุ้นการเติบโตในเด็ก และกระตุ้นน้ำตาลในผู้ใหญ่
ต่อมใต้สมองส่วนกลาง
(Intermediate lobe)
กระตุ้นการสร้าง Melanin ในเซลล์สีที่ผิวหนัง (Melanocyte)
ท้าให้สีตัวเข้ม
กระตุ้นให้ Melanin กระจายทั่วไซโทพลาซึมของเซลล์
Melanocyte ท้าให้สีเข้ม
ต่อมใต้สมองส่วนท้าย
(Posterior lobe)
เป็นแหล่งเก็บสะสมฮอร์โมนประสาท (Neurohormone) ที่สร้างจากกลุ่มเซลล์ Neurosecrotory cells in Hypothalamus ซึ่งเป็นเซลล์ประสาทที่เปลี่ยนมาสร้างฮอร์โมน
Neurohormone
ที่เก็บสะสมมี 2 ชนิด
ADH (Antidiuretic hormone): เพิ่มการดูด H2O กลับที่ Distal Convolute tubule และ Collecting duct
Vasopressin: ทำให้ Artery หดตัวแรงดันเลือดสูง
ต่อมหมวกไต
(Adrenal gland)
ต่อมหมวกไตชั้นนอก (Adrenal cortex)
สร้างจากฮอร์โมน 3 กลุ่ม:
Mlneralocorticoids มีชนิดส้าคัญที่สุดคือ Aldostreone เพิ่มการดูด Na+ กลับ, เพิ่มการขับ K+, Cl– ทิ้งไปกับปัสสาวะ
Adrenal sex hormone ได้แก่ Testosterone และ Estrogen มีปริมาณน้อยเมื่อเทียบกับฮอร์โมนจากอวัยวะเพศ
Glucocorticoids มีชนิดส้าคัญที่สุดคือ Cortisol เพิ่มน้้าตาลในเลือด และก่อเกิดความเครียด (stress)
ต่อมหมวกไตชั้นใน
เป็นฮอร์โมนที่หลั่งออกมามากในภาวะฉุกเฉิน (Emergency hormone)
Adrenalin (Epinephrine) มี 70%
Noradrenalin (Norepinephrine) 10%
Thyroid gland
(ต่อมไทรอยด์)
Thyroxin
กระตุ้นการเติบโตของร่างกายและสมองในวัยเด็ก เพิ่มน้้าตาลในเลือดและกระตุ้น Metabolism เช่น การเผาผลาญอาหารในวัยผู้ใหญ่ และกระตุ้น Metamorphosis ของลูกอ๊อด
Calcitonin
ลดระดับ Ca2+ & PO43– ในเลือด
Parathyroid gland
(ต่อมพาราไทรอยด์)
สร้างฮอร์โมน Parathormone
ไปเพิ่มระดับ Ca2+ & PO4 3– ในเลือด
ตับอ่อน
B-cells
มีขนาดเล็ก มีปริมาณมาก และสร้าง Insulin ลดน้้าตาล
A-cells
มีขนาดใหญ่ ปริมาณน้อย และสร้างฮอร์โมน Glucagon ไปเพิ่มปริมาณกลูโคส ในเลือดโดยกระตุ้นการสลาย Glycogen จากตับ >> Glucose ในเลือด
Thymus gland
สร้างฮอร์โมน Thymocin ไปกระตุ้นการสร้างและการเติบโตของเม็ดเลือดขาว T-lymphyocyte เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน
Pineal gland
สร้างฮอร์โมน Melatonin และยับยั้งการสร้าง Melanin
ฮอร์โมนจากอวัยวะเพศ
Interstitial cells of Leydig
ใน Testes สร้าง Testosterone
Graafian follicle
ในรังไข่ สร้างฮอร์โมน Estrogen
Corpus luteum
ในรังไข่ สร้างฮอร์โมน Progesterone
รก (Placenta)
สร้างฮอร์โมน HCG, Progesterone
ลักษณะเด่นที่สำคัญ
ไอส์เลดออฟ แลงเกอร์ฮานส์
เป็นต่อมที่มีขนาดเล็กที่สุด และมีจำนวนต่อมมากที่สุด
อะดรีนัลคอร์เทกซ์
สร้างฮอร์โมนหลายชนิดที่สุด
ต่อมไทรอยด์
มีขนาดใหญ่ที่สุด และมีเลือดมาเลี้ยงมากสุด
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
ประกอบด้วยเซลล์มีรูปร่างแตกต่างกันมากที่สุด
ตับอ่อน , กระเพาะอาหาร และลำไส้เล็ก
ทำหน้าที่เป็นทั้งต่อมมีท่อและต่อมไร้ท่อ
ประเภทและการออกฤทธิ์ของฮอร์โมน
ฮอร์โมนประเภทที่เป็นโพลีเปปไทด์หรือโปรตีน
ภายในเซลล์ของต่อมที่สร้างฮอร์โมนประเภทนี้ จะมีเอนโดพลาสมิก เรติคิวลัมชนิดขรุขระ (RER) มากเป็น พิเศษ และจะออกฤทธิ์ที่เยื่อหุ้มเซลล์ของอวัยวะ เป้าหมาย
ฮอร์โมนประเภทที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นมาจากกรดอะมิโน
ภายในเซลล์ ของต่อมที่สร้างฮอร์โมนประเภทนี้จะมีเอนโดพลาสมิก เรติคิวลัมชนิดขรุขระ (RER) มากพิเศษ และจะออกฤทธิ์ที่เยื่อหุ้มเซลล์ของอวัยวะเป้าหมาย (target organ)
ฮอร์โมนที่เป็นสารสเตียรอยด์ ได้แก่ ฮอร์โมนจากอะดรีนัลคอร์เทกซ์ และฮอร์โมนจากอวัยวะเพศ
ภายในเซลล์ของต่อมที่สร้างฮอร์โมนประเภทนี้ จะมีเอนโดพลาสมิก เรติคิวลัมชนิดเรียบ (SER) มากที่สุด จะออกฤทธิ์ที่ DNA ภายในนิวเคลียสของอวัยวะ เป้าหมาย
การควบคุมการทำงานของต่อมไร้ท่อ
การควบคุมโดยระดับของ
สารบางชนิดในเลือดที่ไม่ใช่ฮอร์โมน
ระดับแคลเซียมในเลือด ควบคุมการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์และต่อมไทรอยด์
ปริมาณความเข้มข้นของเกลือแร่ในเลือด (ความดันออสโมติก) ควบคุมการหลั่ง ADH จากต่อมใต้สมองส่วนหลัง
การควบคุมโดยระดับของสารบางชนิดในเลือดที่ไม่ใช่ฮอร์โมน เช่น ระดับน้ าตาลในเลือด ควบคุมโดยการหลั่งอินซูลินจาก ไอส์เลต ออฟ แลงเกอร์ฮานส์
การควบคุมกระบวนการย้อนกลับ หรือการสื่อกลับไปยับยั้ง (Negative feedback control)
กลไกการควบคุมการหลั่ง
ฮอร์โมนไทรอกซิน
การควบคุมการหลั่งฮอร์โมน
โดยกระบวนการควบคุมย้อนกลับ
การควบคุมโดยประสาท
(Nervous control)
ทางตรง
ได้แก่ ต่อมไร้ท่อที่เจริญมาจากกลุ่ม เนื้อเยื่อประสาท เช่น ต่อมใต้สมองส่วนหลังอะดรีนัลเมดุลลา จะมีระบบประสาทส่วนกลางมาควบคุมโดยตรงเมื่อถูกกระตุ้นโดยระบบประสาทก็จะหลั่งฮอร์โมนทันที
ทางอ้อม
สร้างสารนิวโรฮิวเมอร์จากเซลล์ประสาทในสมองบางส่วนส่งมาเก็บในแกรนูลตามเส้นใยประสาท จะถูกปล่อยออกมาสู่กระแสเลือด เมื่อได้รับการกระตุ้นนิวโรฮิวเมอร์จะส่งไปควบคุมการหลั่งฮอร์โมนของต่อมไร้ท่ออื่นๆ เช่น ควบคุมการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า โดยไฮโพทาลามัส จะหลั่ง TRH (TSH–RH) ไปกระตุ้น
ฮอร์โมน (Hormone)
ฮอร์โมน คือ สารเคมีที่สร้างขึ้นจากเนื้อเยื่อส่วนหนึ่งของร่างกายโดยเฉพาะจากต่อมไร้ท่อแล้วส่งเข้าสู่กระแสโลหิตกระจายไปทั่วร่างกายไปมีผลต่ออวัยวะเป้าหมาย โดยเหนี่ยวนำให้เกิดการเจริญเติบโต กระตุ้นหรือยับยั้งการทำงาน ฮอร์โมนสามารถออกฤทธิ์ได้โดยใช้ประมาณเพียงเล็กน้อย
หน้าที่ของฮอร์โมน
ฮอร์โมนควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
ฮอร์โมนควบคุม Na+ , K+ และ Cl– Aldosterone จาก Adrenal Cortex กระตุ้นการดูด Na+ กลับคืนที่ท่อหน่วยไตตอนปลาย และยับยั้งการดูด K+ และ Cl– กลับที่ท่อหน่วยไตตอนปลาย
ฮอร์โมนควบคุมปริมาณน้ำ ADH หรือ Vasopressin จากต่อมใต้สมองส่วนท้าย เพิ่มการดูดน้ำกลับคืนที่ท่อหน่วยไตตอนปลายมากที่สุด
ฮอร์โมนกระตุ้น
การสร้างน้้านม >> Prolactin จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
การหลั่งน้้านม >> oxytocin กระตุ้นการบีบตัวของกล้ามเนื้อเรียบรอบต่อมน้้านม
ฮอร์โมนควบคุมการตั้งครรภ์และการคลอด
ตั้งครรภ์ >> Progesterone จาก Corpusluteum
คลอด >> oxytocin กระตุ้นการบีบตัวของผนังมดลูกชั้นกลาง (Myometrium)
ฮอร์โมนควบคุมสีตัว
MSH จากต่อมใต้สมองส่วนกลางทำให้สีตัวเข้ม
Melatonin จากต่อมไพเนียล ทำให้สีตัวจาง
ฮอร์โมนควบคุมรอบเดือน (Menstrual cycle)
FSH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้ากระตุ้นการสร้างและการเจริญเติบโต
LH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้ากระตุ้นให้ไข่เติบโตเต็มที่และการตกไข่
Estropgen จาก Graafian follicle กระตุ้นการหั่ง LH
Progesterone จาก Corpus luteum ควบคุมการตั้งครรภ์
ฮอร์โมนควบคุมการเติบโตทางเพศ
FSH และ LH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้ากระตุ้นการเติบโตทางเพศ
Melatonin จากต่อมไพเนียลยับยั้งการเติบโตทางเพศ
ฮอร์โมนกระตุ้นการเติบโต
ฮอร์โมนควบคุมแร่ธาตุ Ca2+ และ Po-
Calcitonin จากต่อมไทรอยด์ลดปริมาณ Ca2+ และ Po3-4 ในเลือด
Parathormone จากต่อมไทรอยด์ เพิ่มปริมาณ Ca2+ และ Po3-4 ในเลือด
กลุ่มอาการของคนเนื่องจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อบางส่วน
Acromegaly ไม่มีผลทำให้กระดูกเติบโต ความยาวจึงไม่สูงเพิ่มขึ้นแต่มีผลให้กระดูกเติบโตด้านกว้างทำให้กระดูกขากรรไกรขยายออกจนใบหน้าคล้ายสีเหลี่ยมคางหมู
Gigantism สูงเกินไป แขน ขายาวสมส่วน มักอายุสั้น เนื่องจากเป็นเนื้องอกที่ต่อมใต้สมอง
Simmond’s disease ผอมแห้งและตายไป ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ สมองทนต่อความเครียดไม่ได้
Dwarfism เกิดในวัยเด็กโดยระดับ GH น้อยเกินไปทำให้ร่างกายเตี้ยแคระ แขนขาสั้นสมส่วน สติปัญญาปกติ อวัยวะเพศไม่เติบโต
Cretinism เตี้ยแคระ สติปัญญาไม่พัฒนา ปัญญาอ่อน ซึม ตัวเย็น ฟันงอกช้า กระหม่อมปิด อาจคอพอกด้วยก็ได้
Myxedema มักเป็นกับหญิง อัตราเมแทบอลิซึมต่ า ตัวเย็นหนาวง่าย กินน้อยแต่อ้วน เฉื่อยชา ชอบนอน บวม ผิวหนังเป็นสะเก็ด ผิวหยาบใบหน้าลอก อาจคอพอก
Grave’s disease มักเป็นกับหญิง อัตราเมแทบอลิซึมสูง ตัวร้อน กินมากก็ผอม ตกใจง่าย หัวใจเต้นเร็ว เหงื่อออกง่าย อาจคอพอกไม่โตมาก
Hypoparathyroidism เลือดไม่ค่อยแข็งตัว เกิดตะคริว กล้ามเนื้อเกร็ง ชักกระตุก ปอดไม่ท างาน ตายในที่สุด
เบาหวาน น้ำตาลในเลือดสูง (Hyperglycemia) อาจสูงกว่า 400 mg เลือดมีฤทธิ์เป็นกรด และปัสสาวะมาก