Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในอนาคต (นส.สุจิตราภรณ์…
บทที่ 9 แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในอนาคต
(นส.สุจิตราภรณ์ สักพุ่ม เลขที่8 2/3)
ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data)
ข้อมูลขนาดใหญ่ เป็นเทคโนโลยีการประมวลผลข้อมูลข่าวสารที่มีจํานวนมากและหลากหลายรูปปแบบ สามารถเพิ่มเข้ามาได้ตลอดเวลา
รูปแบบและคุณลักษณะของข้อมูลขนาดใหญ่
ขนาด (Volume)
ข้อมูลมีขนาดใหญ่ มีปริมาณข้อมูลมาก ซึ่งสามารถเป็นได้ทั้งข้อมูล
แบบออฟไลน์หรือออนไลน์
ความหลากหลาย (Variety)
ข้อมูลสามารถเป็นได้ทั้งที่มีโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง
ความเร็ว (Velocity)
ข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาอย่างรวดเร็ว มีการส่งผ่าน
ข้อมูลอย่างต่อเนื่องในลักษณะสื่อผสม (Multimedia)
ความจริง (Veracity)
ข้อมูลมีความไม่ชัดเจน (Uncleansed) อาจมีความไม่น่าเชื่อถือ
(Untrusted)
เทคโนโลยีบล็อกเชน (Blockchain Technology)
บล็อกเชน (Blockchain) เป็นเทคโนโลยีใหม่ที่มีความปลอดภัย น่าเชื่อถือ และไม่ต้องอาศัยบุคคลที่
สามในการท าธุรกรรม ท าให้ธุรกรรมออนไลน์ใด ๆ สามารถท าได้อย่างสะดวกมากขึ้น
กํารประยุกต์ใช้บล็อกเชน
• การบริการที่เกี่ยวข้องกับการเงินเเละการลงทุน
(Financial Technology : FinTech)
• การทำธุรกรรมออนไลน์ของธนาคาร
• ธุรกิจประกันภัยที่มีการเก็บข้อมูลกรมธรรม์ ข้อมูลการเคลมประกัน และข้อมูลการต่อประกันในปีต่อ ๆ ไป
• การทำธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ที่มีการซื้อขายและ
แลกเปลี่ยน
การทํางานของบล็อกเชน
บล็อกเชน เป็นโครงสร้างข้อมูล (Data Structure) แบบหนึ่งที่ทําให้รายการข้อมูล(Transaction)แต่ละรายการถูกสร้างขึ้นในลักษณะเป็นบล็อก (Block) ที่สามารถเชื่อมต่อกันได้เป็นเสมือนห่วงโซ่ (Chain)ทําให้แต่ละบล็อกนั้นเชื่อมต่อไปยังโหนดต่าง ๆ ในเครือข่าย โดยในแต่ละบล็อกนั้นจะมีข้อมูลอ้างอิงต่างๆของ
ที่อยู่ผู้รับ ที่อยู่ผู้ส่ง
อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (Internet of Things: IoT)
การเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้สามารถสื่อสารกันได้โดยอาศัยเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเป็นตัวกลางในการเชื่อมโยงและสามารถควบคุมสั่งการ
อุปกรณ์เหล่านั้นผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
องค์ประกอบสำคัญของIoT
เครือข่ายอุปกรณ์รับรู้สัญยญาณ(Wireless Sensor
Network: WSN)
เป็นอุปกรณ์ตรวจจับและส่งข้อมูลเช่น ตรวจจับความสว่าง อุณหภูมิความชื้น ความเคลื่อนไหว
เทคโนโนยีการเข้าถึง
(Access Technology)
• Bluetooth
• IEEE 802.15.4e
•wi-fi
ตัวเชื่อมต่อ
เครือข่ายอุปกรณ์
รับรู้สัญญาณ(Gateway )
การประยุกต์ใช้ IOT สามารถใช้ได้หลากหลายรูปแบบเช่น
เมืองอัจฉริยะ (Smart city)
โครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ(Smart Grid)
รถยนต์อัจฉริยะ (Connected car)
อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งภาคอุตสาหกรรม (Industrial Internet of Things: IIoT)
อุปกรณ์ตรวจจับสัญญาณ (Sensors)
ทําหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ได้รับจากอุปกรณ์ตรวจจับสัญญาณ (Sensor) เพื่อให้สามารถนําไปใช้งานได้ตามวัตถุประสงค์ นอกจากนี้ยังทําหน้าที่ส่งคําสั่งไปยังอุปกรณ์ตรวจจับสัญญาณอื่น ๆ
ส่วนประมวลผล (Processor หรือ Industrial Analytics)
เครื่องจักรยุคใหม่ที่นอกจากจะมีระบบกลไกที่มีความซับซ้อนแล้ว ยังสามารถทํางานในรูปแบบอัตโนมัติโดยผ่านการโปรแกรมทําให้ผู้ใช้งานสามารถ ควบคุม แก้ไข จัดการตรวจสอบการทํางานผ่านแอปพลิเคชันที่พัฒนาขึ้น
เครื่องจักรที่ชาญฉลาด (Intelligent Machine Application)
อุปกรณ์ในการตรวจจับสัญญาณที่เกิดขึ้นจากกระบวนการต่าง ๆ ในขณะปฏิบัติงาน เช่น อุณหภูมิ แสง ความดัน แรงดันไฟฟ้า การเคลื่อนไหวหรือสารเคมี แล้วส่งไปยังส่วนประมวลผล
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI)
คือ ความฉลาด ความรู้ที่สร้างขึ้นมาจากสิ่งที่ไม่มีชีวิตเป็นศาสตร์ที่อาศัยความรู้ด้านวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ที่มีพื้นฐานมาจากวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
การแบ่งกลุ่มของปัญญําประดิษฐ์
ระบบที่คิดและให้เหตุผลได้เหมือนมนุษย์
(Systems that Think Like Humans)
จำเป็นต้องศึกษาและ
เข้าใจระบบการทำงาน วิเคราะห์ลักษณะการคิดของมนุษย์ให้ได้ก่อนแล้วจึงพัฒนาโปรแกรมออกมา
ระบบที่กระท ําได้เหมือนมนุษย์
(Systems that Act Like Humans)
การที่คอมพิวเตอร์มีกระบวนการรับรู้ ประมวลผลและสามารถตอบสนองได้คล้ายมนุษย์ เช่น สื่อสารได้ด้วยภาษาที่มนุษย์ใช้ แปลงข้อความเป็นคำพูดหรือการแปลงคำพูดเป็น
ระบบที่สํามํารถคิดได้อย่ํางมีหลักกํารและเหตุผล(Systems that Think Rationally)
โดยการศึกษา
หลักการค านวณ ใช้หลักตรรกศาสตร์ในการคิดหาค าตอบอย่างมีเหตุมีผล เช่น ระบบผู้เชี่ยวชาญ
ระบบที่กระทำได้ตํามหลักการและเหตุผล (Systems that Act Rationally)
สามารถทำงานได้โดย
อัตโนมัติเพื่อบรรลุเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้
ตัวแทนปัญญาประดิษฐ์อาจอยู่ในรูปแบบทางกายภาพ
ของอุปกรณ์
หุ่นยนต์
ซอฟต์แวร์
เทคโนโลยีเสมือนจริง (Reality)
เกิดจากสภาพแวดล้อมที่สร้างด้วยคอมพิวเตอร์ โดยจำลองสภาพแวดล้อมให้มีความเหมือนจริง เปรียบได้ว่าเป็น การสร้างโลกเสมือนขึ้นมาอีกใบ โดยเราจะถูกตัดขาดออกจากสภาพแวดล้อมในปัจจุบัน
เทคโนโลยีเสมือนจริง (Reality) กลุ่มเทคโนโลยีเสมือนจริง ถูกพัฒนาและต่อยอดอย่างต่อเนื่อง สามารถแบ่งออกเป็น 3
กลุ่มย่อย
Augmented Reality (AR)ความจริงเสริม
ทคโนโลยีความจริงเสริมเป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการเชื่อมโยงโลกแห่งความจริงเข้ากับโลกเสมือน โดยใช้อุปกรณ์ทางด้านฮาร์ดแวร์ร่วมกับซอฟต์แวร์ทําให้สามารถมองเห็นภาพที่มีลักษณะเป็นวัตถุ 3 มิติ ทับซ้อนเข้ากันกับภาพจริงเป็นภาพ
สามารถแบ่งส่วนการวิเคราะห์ภาพเป็น 2 ประเภท
มาร์คเกอร์ (Marker)
เออาร์โค้ด (AR Code)
ความจริงผสม(MixedReality : MR)
การผสานจุดเด่นของเทคโนโลยีความจริงเสมือนและเทคโนโลยีความจริงเสริมเข้าด้วยกัน
Virtual Reality เทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการจําลองสภาพแวดล้อมที่ใกล้เคียงความ
เป็นจริงขึ้นมา และยังรวมถึงการจําลองข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวกับประสาทสัมผัสด้วย
การตอบสนองต่อแรงและป้อนกลับได้ ซึ่งผู้ใช้สามารถโต้ตอบกับสิ่งแวดล้อมเสมือนที่สร้างขึ้นมานี้ได้โดยใช้อุปกรณ์มาตรฐานทั่วไป
แป้นพิมพ์
เมาส์
ถุงมือรับรู้ (Data Gloves)
การทํางานของความจริงเสมือน
ข้อมูลที่ได้จากอุปกรณ์นําเข้าต่าง ๆ จะถูกประมวลผลแสดงเป็นภาพที่ปรากฏบนจอรับภาพแบบต่าง ๆ ซึ่งเป็นภาพลวงตาที่ถูกสร้างขึ้นมาด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในลักษณะภาพแบบ 3 มิติในขณะที่เรามองดูรอบ ๆ ตัว ภาพที่มองเห็นจะเลื่อนเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ ในขณะที่โลกเสมือนจริงนั้นนิ่งอยู่กับที่