Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่8 กฏหมายและจริยธรรมในยุคดิจิทัล (นางสาวเกศรินทร์ แกล้วกสิกรรม) -…
บทที่8 กฏหมายและจริยธรรมในยุคดิจิทัล
(นางสาวเกศรินทร์ แกล้วกสิกรรม)
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
1.ในกรณีที่กฏหมายกำหนดให้การใดต้องทำเป็นหนังสือ
2.ในกรณีที่กฏหมายกำหนดให้นำเสนอหรือเก็บรักษา
ข้อความใดในสภาพที่เป็นมาแต่เดิมอย่างเอกสารต้นฉบับ
หมวด 1 ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
หมวด 2 ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
หมวด 3 ธุรกิจบนิการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
หมวด 5 คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
หมวด 6 บทกำหนดโทษ
ความหมายของกฎหมายกฎหมายคือ กฎเกณฑ์ที่วางระเบียบเพื่อการอยูร่วมกันในสังคม โดยมีสภาพบังคับให้บุคคล กระทำหรือไม่ให้กระทํา เพื่ออกําหนดความประพฤติของบุคคลในรัฐหากผู้ใดฝ่าฝืนจะมีความผิดและถูกลงโทษ
ลักษณะของกฏหมาย
กฎหมายเป็นคําสั่ง หรือ ข้อบังคับที่กําหนดขึ้นจากคณะ บุคคลที่มีอำนาจสูงสุดในรัฐ
เป็นคําสั่ง หรือ ข้อบังคับที่ใช้ได้ทั่วไปในประเทศนั้นๆ
เป็นข้อบังคับที่ใช่ได้เสมอไป
กฏหมายต้องมีสภาพบังคับคือต้องมีการกำหนดความผิด
กฏหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ/กฏหมายไอที
"เนคเทค"ยกร่างกฎหมายไอทีทั้ง 6 ฉบับ ให้แล้วเสร็จคือ
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่อ อิเล็กทรอนิกส์
กฎหมายเกี่ยววกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้ทั่ว ถึงและเท่าเทียมกัน
กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
กฎหมายเกี่ยวกับการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงนิ ทางอิเล็กทรอนิกส์
ความสำคัญของกฏหมาย
กฎหมายเป็นเครอื่องมือของรัฐในการบริหารประเทศ
กฎหมายเป็นตัวกําหนดความสําคัญของตัวบุคคล
กฎหมายเป็นเครื่องมือในการพัฒนาสังคม
กฎหมายเป็นเครื่องมือในการรักษาความสงบเรียบร้อยในสังคม
คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของจรรยาบรรณ
จรรยาบรรณ หมายถึง ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบการอาชพี การงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้นเพื่อรักษาและ ส่งเสริมเกียรติคุณชื่อ เสียงและฐานะของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้ จรรยาบรรณจึงเป็นหลัก ความประพฤติของบุคคลในแต่ละกลุ่มอาชพี เป็นเครื่องยึด เหนี่ยวจิตใจให้มีคุณธรรมและจริยธรรม
จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย 4 ประเด็น คือ
ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy) เป็นสิทธิที่เจ้าของสามารถควบคุมข้อมูลของตนเองได้
ความถูกต้อง (Information Accuracy) ในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่ออการรวบรวม จัดเก็บ และเรียกใช้ข้อมูลนั้น คุณลักษณะที่สําคัญประการหนึ่งคือความน่าเชื่อถือได้ของข้อมูล
ความเป็นเจ้าของ (Information Property) กรรมสิทธในการถือครองทรัพย์สินทางปัญญา
การเข้าถึงข้อมูล(Data Accessibillty) ความสะดวกในการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศและมีความปลอดภัย
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้สารสนเทศเป็นความตระหนักเข้าใจ เป็นแนวทางในการปฏิบัติและ ใช้สารสนเทศ ซึ่งเป็นนทรัพย์สินทางปัญญาอันเป็นผลงานอัน เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ ทรัพย์สินนทางปัญญาเป็นนทรัพย์สินอีกชนิดหนึ่งง มีการคุ้มครองแก่ผู้ถือสิทธิ์ได้อย่างถูก ดังนั้นการใช้งานสารสนเทศอย่างถูกต้องเป็น ธรรม ผู้รู้สารสนเทศต้องเข้าใจถึงสิทธิ์และตระหนักถึง ผลกระทบตลอดจนกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่ออให้ เข้าใจและสามารถใช้สารสนเทศได้อย่างถูกต้อง ถือเป็น สิ่ง สำคัญหรับการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมนุษย์ เพื่อให้การลายเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต ที่มีคุณธรรมจริยธรรม
คุณธรรมจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ คุณธรรม (Virtue) หมายถึง คุณงามความดี สิ่ง ที่มีคุณค่า มีประโยชน์ เป็นความดีงาม เป็นมโนธรรม
เป็นเครื่องประคับประคองใจให้เกลียดความชั่ว กลัวบาป ใฝ่ความดี และเป็นเครื่องกระตุ้นผลักดันให้เกิด ความรู้สึกผิดชอบ เกิดจิตสำนึกที่ดีมีความสงบเย็น ภายใน
จริยธรรม (Ethics) หมายถึง หลักของความถูกและความผิดที่บุคคลใช้เป็น แนวทางในการปฏิบัติ
จริยธรรมมีบทบาทในการช่วยลดปัญหาอันเกิดจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในทางที่ไม่ ถูกต้องไม่ สมควร และไม่ครอบคลุมโดยกฎหมายที่มีอยู่ในปัจจุบัน
ข้อแตกต่าง ของกฎหมายและจริยธรรม กฎหมาย เป็นคำสั่ง หรือข้อบังคับของรัฐผู้ใดไม่ปฏิบัติตามจะต้องได้รับโทษ ที่ระบุไว้ จริยธรรม สิ่ง ที่ควรประพฤติควรทำ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามก็ไม่ต้องรับโทษทางกฎหมายบ้านเมือง แต่อาจถูก ลงโทษทางสังคม
จรรยาบรรณการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
1.ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น
3.ต้องไม่สอดแนมหรือแก้ไขเปิดดูในแฟ้มของผู้อื่น
4.ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5.ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
6.ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์
7.ต้องไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์
1 more item...
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มีข้อควรคำนึงถึงต่อไปนี้
1.ไม่ควรให้ข้อมูลที่เป็นเท็จ
2.ไม่บิดเบือนความถูกต้องของข้อมูล
ให้ผู้รับคนต่อไปได้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง
3.ไม่ควรเข้าถึงข้อมูลผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต
4.ไม่ควรเปิดเผยข้อมูลกับผู้ที่ไม่ได้รับอนุญาต
5.ไม่ทำลายข้อมูล
6.ไม่เข้าควบคุมระบบบางส่วน
หรือทั้งหมดโดยไม่ได้รับอนุญาต
7.ไม่ทำให้อีกฝ่ายหนึ่งเข้าใจว่าตัวเองเป็นอีกคนหนึ่ง
1 more item...