Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายและทางจิตสังคมของสตรีตั้งครรภ์, นางสาววรรณพิมล …
การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายและทางจิตสังคมของสตรีตั้งครรภ์
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาในระยะตั้งครรภ์
ระบบต่อมไร้ท่อ Hormones
Pituitary gland :ส่วนหน้าสร้างHormones ซึ่ง Growth Hormone เพิ่มในไตรมาสแรก
รก Placenta :สร้าง protein hormone
Oxytocin
สร้างจาก Pituitary ส่วนหลัง ทำให้เกิดการหลั่งน้ำนม ,กล้ามเนื้อเรียบหดตัว,มดลูกหดรัดตัว ช่วยให้เกิดการเจ็บครรภ์และเร่ง ให้คลอด
Estrogen
ทำให้อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกใหญ่ขึ้น
ลดการหลั่งของน้ำย่อย ทำให้อาหารไม่ย่อย
กระตุ้นการสะสม melanin pigment
มีผลให้ ปริมาณเลือดเพิ่มขึ้นที่มดลูกและรก
ทำให้อารมณ์แปรปรวนได้ง่าย
กระตุ้นการทำงานของท่อน้ำนม ต่อมน้ำนม และหัวนม
Progesterone
ระยะแรกผลิตจาก Corpus luteum กระตุ้นการเจริญเติบโตของเยื่อบุผนังมดลูก Decidual เพื่อรองรับการฝังตัวของทารก การหดรัดตัวของมดลูกลดลง
Prolactin
สร้างน้ำนม Hs ปริมาณเพิ่มขึ้นรวดเร็วในไตรมาสที่ 2
hCG
สร้างโดย cytotrophoblast ของ chorionic villi ยับยั้งการสลายของcorpus luteum ซึ่งขับออกจากร่างกายทางปัสสาวะพบได้ตั้งแต่ 2 wks หลังปฏิสนธิ
ระบบสืบพันธุ์ (reproductive system)
รังไข่ (Ovary)
ไม่มีการตกไข่ ขาดประจำเดือน
ท่อนำไข่ (Uterine tube)
ขยายใหญ่ ยาวขึ้น
มดลูก Uterus
ระดับยอดมดลูกสูงขึ้นตามอายุครรภ์
ครรภ์เกือบกลม ยาวรี เป็น รูปไข่ ( Ovoid shape ) ความจุน้ำหนัก เพิ่มขึ้นจาก 10 ml เป็นถึง 5-10 litre เพิ่มประมาณ 20-30 เท่า Blood Circulation จะมีเลือดไหลเวียน เพิ่ม 20-40 เท่า
20 wksคลำได้ชัดเจนระดับสะดือ
36 wks ยอดมดลูกจะสูงถึงระดับยอดอก
รับรู้การเคลื่อนไหวและการหดรัดตัวของมดลูก
อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและช่องคลอด
External Os ของปากมดลูกไวต่อการถูกกระทบ เลือดออกง่าย
pH3.5-6.1 เป็นกรด
เต้านม Breast
Nipple สีคล้ำขึ้น บริเวณ Areola พบ Montgomery’s tubercle (ตุ่มเล็กๆรอบๆหัวนม ) ต่อมน้ำนมเริ่มสร้างน้ำนม 16 wks อาจพบ Colostrums (จากProlactin)
ผิวหนังและกล้ามเนื้อหน้าทอง
Linea nigraเรียกขานกันว่าเส้นการตั้งครรภ์ ปรากฏเป็นเส้นตรงของเม็ดสีที่เพิ่มขึ้นซึ่งมักพบในบริเวณช่องท้อง
Hyperpigmentation : จาก Estrogen H. Mask of Pregnancy / chloasma
Straie gravidarum จาก ฮอร์โมนของต่อมหมวกไต ( คอร์ติโซน ) ที่เพิ่มขึ้น
การเปลี่ยนแปลงของหัวใจและหลอดเลือด
coagulation factors -ความเข้มข้นของ fibrinogen เพิ่มขึ้นประมาณ 50% ปริมาตรเลือด เพิ่มขึ้น 30-40%
Cardiac output - เลือดที่สูบฉีดออกจากหัวใจของหญิงตั้งครรภ์เพิ่มขึ้น
ขนาดหัวใจ Hypertrophy + increased work load ใหญ่ขึ้น และถูกเบียด ไปข้างซ้าย สูงกว่าปกติ เนื่องจากมดลูกดันกระบังลมยกขึ้น
HR เพิ่ม 10-15 bpm เมื่อตั้งครรภ์ประมาณ 20 wks จนคลอด
Blood Pressure ความดันโลหิต
ไตรมาสที่ 2 ลดลงมากที่สุด ช่วงก่อน 20 wks ลดลง 5-10 mmHg
ไตรมาสที่ 3 จะเพิ่มขึ้น มีค่าBPระดับเดิมก่อนตั้งครรภ์ BP จะมีค่าปกติหรือเพิ่มไม่เกิน 30 / 15 mm Hg
ไตรมาส 1 เท่าเดิมเหมือนก่อนการตั้งครรภ์
ระบบทางเดินหายใจ
ภาวะ Chronic Hyperventilation เกิดMild chronic alkalosis ไตรมาสที่ 3 มดลูกที่โตขึ้น เบียดกระบังลม ทำให้ความจุปอดเพิ่มขึ้น การหายใจ ดีขึ้น 2 สัปดาห์ ก่อนคลอด (ครรภ์แรก) จากท้องลด–ศีรษะทารกลงสู่อุ้งเชิงกราน (Lightening)
ไต กรวยไตและท่อไต
Hydronephrosis
Hydroureter
ขยายใหญ่ขึ้น เล็กน้อย เลือดไหลผ่านมากขึ้น กรองมาก แต่ดูดสารกลับได้ไม่หมด พบ glucose และAlbumin
ระบบทางเดินอาหาร
Epulis (เหงือกบวมน้ำ) gingivitis Constipation ท้องผูก Hemorrhoid ริดสีดวงทวาร Heart burn / pyrosis ขนาดของมดลกใหญ่ขึ้น เบียด กระเพาะอาหาร ท้องผูก ท้องอืด คลื่นไส้ อาเจียน Progesterone
ระบบการเผาผลาญ
ตับ : ไตรมาสที่ 3 ตำแหน่งตับตับ ถูกดันให้สูงขึ้น จากถูกมดลูกที่ใหญ่ขึ้นเบียดการทำงานของตับ เพิ่มขึ้น ระดับ Cholesterol และTriglyceride สูงขึ้น
ถุงน้ำดี : โป่งพองขึ้น ความตึงตัวลดลง น้ำดีไหลช้าจากผลของHsProgesterone เสี่ยงต่อการเกิด นิ่วในถุงน้ำดี ถุงน้ำดีอักเสบ
ระบบการเผาผลาญ คาร์โบไฮเดรต metabolism
Diabetogenic state : หญิงตั้งครรภ์มีแนวโน้มที่จะเป็น เบาหวานระหว่างตั้งครรภ์ 16-32 wks จากมีฮอร์โมนมายับยั้งการทำงานของอินซูลิน น้ำตาลในเลือดจึงค่อยๆสูงขึึ้น (HPL/HCS) สูงสุดที่ 34 wks
ร่างกายกักเก็บน้ำเพิ่ม 6.5-8.5 litre
ต่อมหมวกไต Adrenal gland สร้าง Hscorticosteroid
Free Cortisol เป็นHsที่ช่วยการ สังเคราะห์น้ำตาล ทำให้เกิด Hyperglycemiaในมารดา
Aldosterone ป้องกันการสูญเสียโซเดียม ปริมาณNa ในร่างกายมากขึ้น
ต่อมไทรอยด์ Thyroid gland in Pregnancy
Thyroid gland โตขึ้นเล็กน้อยได้จากเนื้้อเยื่อ Hyperplasia อยู่ในภาวะ Euthyroid = normal thyroid gland function และBlood Circulation เพิ่มขึ้น 20%
ค่า T 3 เพิ่มมากขึ้น ถึงอายุครรภ์≈18 wks
FT 4 ผ่านรกได้น้อยแต่มีนัยสำคัญ T3 ไม่ผ่านรก TSH ถือว่าเป็นฮอรโมนที่ไม่ผ่านรก
ระบบกระดูกและข้อต่อ
Lordosis ( หลังแอ่น ) ไตรมาสที่ 3 อายุครรภ์ 32 สัปดาห์ ตำแหน่งจุดศูนย์ถ่วง ของร่างกายเปลี่ยนที่ไป ด้านหน้า กระดูกก้นกบ ขยับตัวไปด้านหลังได้เล็กน้อย เอื่อต่อการคลอด
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคมของสตรีตัั้งครรภ์ (Psychosocial changes of Pregnancy)
การเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์
การเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ ไตรมาสที่ 1 :อารมณ์แปรปรวน
การเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ ไตรมาสที่ 2 :เริ่มยอมรับการตั้งครรภ์ มากขึ้น รับรู้การดิ้นของทารก มีความสุขกับการตั้งครรภ์, รักและใส่ใจตนเอง
การเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ ไตรมาสที่ 3 : Stress มีความไม่สุขสบาย หงุดหงิด วิตกกังวล กลัวการเจ็บครรภ์คลอด กลัวไปคลอดไม่ทัน
การเปลี่ยนแปลงด้านภาพลักษณ์ Body image and boundery
ไตรมาสที่ 1 คอยสังเกตุการเปลี่ยนแปลงรูปร่างหน้าตา :ร่างกายภายนอกยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจน
ไตรมาสที่ 2 รับรู ้ภาพลักษณ์ :มดลูกเริ่มขยายมากมองเห็นได้ชดัเจนขึ้น , มีการรับรู ้ภาพลักษณ์ตนเองที่เปลี่ยนแปลง
ไตรมาสที่ 3 ภาพลักษณ์ด้านลบ :รู้สึกไม่ชอบร่างกายตนเอง มีความรู้สึกด้านลบต่อ ภาพลักษณ์ตนเอง จากรูปร่างหน้าตา ความอึดอัด
การเปลี่ยนแปลงด้านเพศสัมพันธุ์
ไตรมาสที่ 1 :มีความลังเลใจ คลื่นไส้อาเจียน ทำให้ความรู้สึกทางเพศ ลดลง
ไตรมาสที่ 2 : โลหิตมาเลี้ยงบริเวณอุ้งเชิงกรานมากขึ้นร่างกายสุขสบายขึ้น และจากฮอร์โมนเอสโตรเจน : ความรู้สึกทางเพศมากขึ้นจากระยะไตรมาสแรก
ไตรมาสที่ 3 : อึดอัด ไม่พอใจในรูปร่าง กลัวอันตรายต่อทารกในครรภ์ : ความรู้สึกทางเพศลดลง
การปรับตัวทางจิตสังคมในระยะตั้งครรภ์
ไตรมาสที่ 1 ความไม่แน่นอน ลังเลใจ คิดถึงแต่ตนเอง
ไตรมาสที่ 2 สนใจทารกในครรภ์เป็นหลัก
ไตรมาสที่ 3 อุทิศตนเพื่อทารก แยกตัวจากสังคม และหลงตัวเอง พึ่งพาผู้อื่นสูงขึ้น เตรียมตัวเพื่อคลอด
ปัจจัย ที่มีอิทธิพล ต่อ การปรับตัว ด้านภาวะจิตสังคม ของหญิงตั้งครรภ์
ประสบการณ์การถูกเลี้ยงดู ความรัก ความเอาใจใส่ จากบิดามารดาของตนเองในวัยเด็กก็จะมี ผลส่งเสริมให้สตรีตั้งครรภ์สามารถปรับตัวผ่านขั้นพัฒนกิจต่างๆไปได้ด้วยดี
อายุ สตรีตั้งครรภ์อายุน้อย วัยรุ่น จะเกิดความขัดแย้งต่อการปรับตัวกับบทบาทการสนองต่อความต้องการของตนเองในวัยรุ่น การเสียสละตนเองเพื่อทารกในครรภ์
ประสบการณ์ในการตั้งครรภ์ที่ผ่านมา จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์และการคลอด
การปรับตัวเข้าสู้บทบาทการเป็นมารดา 4 พัฒนกิจ
พัฒนกิจขั้นที่ 1 : การสร้างความมั่นใจและการยอมรับการตั้งครรภ์ Pregnancy validation & acceptance
ไตรมาสที่ 1 : ลังเลใจ ไม่แน่ใจว่าตั้งครรภ์หรือไม่ ยอมรับการตั้งครรภ์ หรือไม่
พัฒนกิจขั้นที่ 2 การรับรู้ การมีตัวตนของทารก และรับรู้ว่าทารกในครรภ์เป็นส่วนหนึ่งของตน Fetal embodiment
ไตรมาสที่ 2 : รู้สึกว่าทารกในครรภ์เป็นส่วนหนึ่งของร่างกายตนเอง
พัฒนกิจขั้นที่ 3 : การยอมรับว่า ทารกเป็นบุคคลหนึ่ง ที่มี บุคลิกภาพแตกต่างไปจากตน Fetal distinction
ไตรมาสที่ 2 : ลูกเริ่มดิ้น ทารกเริ่มดิ้น ทำให้ยอมรับความเป็นบุคคล
พัฒนกิจขั้นที่ 4 : ยอมรับ การเปลี่ยนแปลง บทบาทการเป็นมารดา Role transition
ไตรมาสที่ 3 : สนใจดูแลบุตรในครรภ์
การช่วยเหลือปฏิบัติการพยาบาล
ส่งเสริมการปรับตัวทางจิตสังคมของหญิงตั้งครรภ์
ส่งเสริมสายสัมพันธ์ระหวางมารดาและทารกในครรภ์/ บิดา มารดาและทารก
การดูแลด้านจิตสังคมของหญิงตั้งครรภ์
ให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์ ให้เข้าใจ ให้ทราบว่าร่างกายและจิตใจจะมีการ ปรับเปลี่ยนไป ในทุกระยะการตั้งครรภ์ ทัศนคติที่ดีต่อการให้นมแม่
นางสาววรรณพิมล ศรีชุม 066