Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แผนยุทธชาติ20ปี - Coggle Diagram
แผนยุทธชาติ20ปี
ความเชื่อมโยงแผนยุทธศาสตร์20ปี กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจเเละสังคม ฉ13
การพัมนา6 หลัก
ด้านความมั่นคง
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านสังคม
ด้านทรัพยากรรธรรมชาติเเละสิ่งแวดล้อม
ด้านเทคโนโลยี
ด้านการปกครอง
การพัมนา4 ด้าน
พัฒนาคน
พัมนาเศรษบกิจฐานราก
พัฒนาดิจิทัล
พัฒนาเศรษฐกิจสีเขียว
การวิเคราะห์เชิงสุขภาพสุขภาพพอเพียงมุ่งเน้นการพัฒนาสุขภาพให้สอดคล้องกับหลักปรัชาเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีประเด้นสำคัญดังนี้
เน้นการป้งกันโรคมากกว่าการรักาษาส่งเสริมให้ประชาชนมีพฟติกรรมสุขภาพที่ดี
ออกกำลังการสมำเสมอ กินอาหารที่มีประโยน์
พึ่งพาตนเอง สนับสนุนให้ประชาชนมีภูมิปัญญาทักษะความรู้ด้านสขภาพตนเอง
เเละชุมชน สามารถปลุกผักส่วนครัวทำสมุนไพร
การพึ่งพาผู้อื่นอย่างมีเหตุผล ประชาชนสามารถเข้าถึงระบบสุขภาพ
รับภาคเอกชน เเละองกรค์ภาคประชาชน
การเเบ่งปัน ส่งเสริมให้ประชาชนมีจิตอาสาช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส
การคำนึงถึงผลลัพธ์ระยะยาว การพัฒนาด้านสุขภาพต้องคำนึงถึงผลลัพธ์ระยะยาว มุ่งสร้างสุขภาพที่ดี
กับประชาชน สังคม และประเทศชาติ
เเผนยุทธศาสตร์20ปี
พัฒนาคนมีสุขภาพดี
เสริมสร้างความมั่นคงเเละยั่งยืน
พัฒนาระบบสุขภาพที่มีคุณภาพประสิทธิภาพ
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในชุชน ภาคเอกชน เเละองค์กรต่างๆ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีหลักการเกี่ยวข้องกับสุขภาพ
มีประสิทธิภาพ การดุเเลลสุขภาพควัใช้วิธีที่มีประสิทธิภาพคุ้มค่า
มีเหตุผลการดูเเลลสุขภาพ การดูเเลลสุขภาพควรคำนึงถึงความเหมาะสมกับตัวเอง
มีภูมิคุ้มกัน การดูเเลลสุขภาพควรเน้นการป้องกันโรค
มีความพอประมาณ การดูเเลลสุขภาพควรพอดีกับความจำเป็นไม่มากหรือน้อย
มีเมตตา การดูเเลลสุขภาพควรคำนึงถึงประโยชน์
ตัวอย่างการบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัมนาสุขภาพ
โครงการ อสม ป้องกันโรค
ให้คำเเนะนำเเจกยาสามัญประจำบ้าน
พยาบาล
โครงการปลูกผักส่วนครัว ส่งเสริมให้ประชาชนปลูกผัก
ได้อาหารปลอดภัย
โครงการยาสมุนไพร ส่งเสริมประชาชนปลูกยาสมุนไพร
ครอบครัว เเละชุมชน
โครงการ สุขภาพดี เริ่มต้นที่ตัวเรา
สมำเสมอ กินอาหารที่ทีประโยชน์ พักผ้่อนให้เพียงพอ
2แผนพัฒนาเสรษฐกิจพอเพียงเเละสังคมแห่งชาติ ฉ13 (ประเด็นด้านสุขภาพ)
หลักการและเเนวคิด
4 โมเดลเศรษฐกิจพิเพียงBCGการพัฒนามี3เเบบ ได้เเก่ เสรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน เศรษฐกิจสีเขียว
3 มีเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนขอสหกปรัชาชาติ
2 แนวคิดResilience เเนวคิดเน้นการลดการเปราะบางต่อการเปลี่ยนเเปลงอันประกอบด้วย
การพร้อมรับ
การปรับตัว
การเปลี่ยนเเปลงพร้อมการเติบโต
1 หลักการปรัชยาของเศรษบกิจพอเพียงโดยการสืบการรักษาต่อยอดการพัฒนาปรัชญาของเศรษบกิจพอเพียง
วัตถุประสงค์
จำเป็จจะต้องเร่งเเก้ไขจุดอ่อน เเละข้อจำกัดของประเทศที่มีอย่างเดิมรวมทั้งเพิ่มศักยภาพ
ตัววัดชี้ความสำเร้จ
อัราการเกิดโรคไม่เรื่้อรั่ง
ประชาชนมีความรู้ด้านสุขภาพ
อายุไขเฉลี่ยเพิ่มขี้น
อัตราการเสียชีวิของทาลกเเละมารดาลดลง
ความเหลี่ยมลํ้า ด้านสุขภาพลดลง
การลดความเหลี่ยมลํ้า ด้านสุขภาพ
ลดอุปสรรคทางการเงินในการเข้ารับบริการด้านสุขภาพ
ให้ความสำคัญกับกลุ่มเปราะบางเช่น ผู้ยากไร้ ผู้สูงอายุ
ปรับปรุงการเข้าถึงระบบสุขภาพ
การพัมนาระบบสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ
ลดเวลาการคอยในการเข้ารับบริการ
ปรับปรุงระบบการส่งต่อผู้ป่วย
เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร
การพัมนาระบบสุขภาพปฐมถูมิที่เข็มเเข่ง
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน
รณรงให้ความรู้ด้านสุขภาพ
พัมนาบุคลากรสาธารณสุขในระดับชุมชน
การส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกเเละป้องกันโรค
ลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ
ส่งเสริมออกกำลังกาย
การพัมนาระบบข้อมุลสุขภาพเเละปัจจัย
พัฒนาเเละใช้ระบบข้อมูลสุขภาพ
สนับสนุนการวิจัยด้านสุขภาพ
บริบทการพัฒนาโควิด19
ภาวะการเรียนรู้ถดถอย จากข้อจำกำกัดการเรียนออนไลน์
จำนวนคนยากจนเพิ่มสูงขึ้น
การเปลี่ยนเเปลงระบบศรษบกิจ
การเก็บรายได้ของภาครัฐลดตํ่าลง
เป้าหมายการพัมนา
การปรับโครงสร้างการผลิตเเละบริหารสู่เสรษฐกิจ
การพัฒนาคนสำหรับโลกยุคใหม่
การมุ่งสุ่สังคมเเห่งโอกาสและความเป็นธรรม
การเปลี่ยนผ่านการผลิตเเละบริโภคไปสู่ความยั่งยืน
การส่งเสริมความสามารถของประเทศใรการรับมื่อการเปบี่ยนเเปลง
3 ความเชื่อมโยงแผลบุทธศาสตร์ชาติ 30 กับเเผนพัมนาเศรษฐกิจพอเพียงเเละสังคมเเห่งชาติแ13
ตัวอย่างโครงการเชื่อมโยงทั้ง2แผน
โครงการพัฒนาทดเเทน
ส่งเสริมใช้พลังงานสะอาดเเละลดการปล่อยก๊าช
เชื่อมโยงแผนยุทธสาสตร์ฉ13 เพิ่มความมั่นคงเเละพลังงาน
โครงการส่งเสริมเกษรกรเเบบยั่งยืน
สร้างความมั่นุงทางอาหาร
เป็นการเเก้ไขความยากจนในชนบทเเละเพิ่มรายได้
โครงการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณสุข
ส่งเสริมพันาการทันสมัย
เป็นการเตรียมความพร้อมให้กับคนไทยในการเข้าสู่เศรษฐกิจพอเพียง
การพัมนาดิจิทัล
ส่งเสริมการพัฒนาทัพยากรณ์มนุษย์มีทักาะความรู้สอดคล้องกับตลาด
เป็นการเตียมความพร้อมให้กับคนไทยในการเข้าสู่เศรษฐกิจดิจิทัล
ความเชื่อมโยงระหว่างกัน
การพัฒนาฉบับ13 เป็นส่วนหนึ่งแแนยุทธศาสตร์ถือป็นเดผนฎบัติที่สอดคล้องกับยุทธสาสตร์โดยมีเป้าหมายในการขับเคลื่อน
แนพัมนาฉ ฃบับ13 ช่วยให้แนยุทธศสตร์เป็นรูปเเบบธรรมจะระบุมาตราเเละโครงการที่เป็นรูปธรรม
ทั้งสองแผนมีเป้าหมายร่วมกันการพัฒนาประเทศชาติให้มีความเจริญ
เหตุผลต้องมีความเชื่อมโยงกัน
เพื่อให้ติดตามเเละประเมินผลการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพ
เพื่อให้พัฒนาประเทศไปอย่างต่อเนื่องเเละมีประสิทธิภาพ
เพื่อให้ทุกภาคส่วนเข้าใจในการพัมนาของประเทศการสื่อสารแผนยุทธชาิแบบเเผนพัฒนา
1 แผนยุทธาสตร์สาธารณสุข 20
4 ยุทธหลัก
เเผ่นที่1 พัมาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกวัย
2 โครงกรลดการตายก่อนวัยอันควร
1 โครงการพัฒนาศักภาพคนไทย
3 โครงการสร้างความเข็มแข็งและความอบอุ่น
แผนที่2 การป้องกันควบคุมโรคเเละภัยสุขภาพ
โครงการจัดการโรคและภัยสุขภาพ
โครงการสร้างสุขภาพประชาชนบนแผ่นดิน
โครงการสร้างความรอบรู้ด้านุสุขภาพ
แผนที่3 ความปลอดภัยด้านอาหารเเลดลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรค
พัฒนาคุณภาพชีวิตและคามปลอดภัยจากปัจจัยเสี่ยโรค
ส่งเสริมความรู้ด้านอาหาร
โครงสร้างส่งเสริมเเละพัฒนา
แผนที่4 การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
พัฒนาคุณภาพสถานบริการด้านสุขภาพ
โครงสร้างจัดการขยะ
โครงการบริหารจัดการมลพิษสิ่งแวดล้อม
วัตถุประสงค์
พัณนาบุคลากรการเเพทย์
ให้มีคุณภาพเเละมีคุณภาพเพียงพอต่อความต้องการ
มุ่งเน้งและป้องกันโรค
เน้นส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรคเรื้อรัง
ให้ความสำคัญทุกวัย
ตั้งแต่เด้กเล็กถึงสูงอายุ
ใช้เทคโนโลยี
เพื่อพัฒนาระบบบริการสาธารณสขให้ทันสมัย
ตัวอย่างโครงกรที่สำคัญ
โครงการพัมนาระบบบริการสุขภาพปมภูมิ
โครงการเสริมสุขภาพชุมชน ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วม
โครงการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สร้างความรู้ความเข้าใจ สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวับโรค
โครงการพัฒนาระบบสารสนเทสสุขภาพ พัฒนาระบบสนเทสเพื่อสนับสนุนการบริการจัดการเเละการให้บนริการสขภาพ
เป้าหมายวามสำคัญ
เพิ่มอายุไข เป็นเป้าหมายคือให้คนไทยมีอายุไขเฉลี่ยเพิ่มขึ้น
ลดความเหลื่อมลั้า ให้ทุกคนเข้าถึงบริการ
พัฒนาระบบบริการ ให้มีประสิทธิภาพตอบสนองความต้องการ
4 ความเชื่อทโยงแผนยุทธสสาตร์ชาติ20 ปีสาธารณสุขกับแผนพัฒนาเเละสังคมเเห่งชาติ
แผนการพัฒนาเศรษฐกิจเเละสังคมฉบับ13
เศรษฐกิจเเละสังคมเเห่งชาติ
สภาพการพัฒนาเศรษกิจเเละสังคมแห่งชาติ
สำนักงานสภาพการเศรษฐกิจเเละสังคมเเหงชาติ
เศรษฐกิจเเละสังคมแห่งชาติฉบับ13 ปี2566-2570 ได้หนดหมายไว้
1 ไทยเป็นประเทศขึ้นนำด้านเกษตรเเละเกษรแปลรูป
2 ไทยเป้นจุดหมายของการท่องเที่นวที่เน้นคุณภาพเเละความยั่งยืน
3 ไทยเป็นศูนยืผลิตยานยนต์ไฟฟ้าที่สำคัญของโลก
หมุดหมายที่ 4 ไทยเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์และสุขภาพมูลค่าสูง มุ่งเน้นยกระดับบริการทางการแพทย์และสุขภาพ ด้วยนวัตกรรม เทคโนโลยีขั้นสูง และอัตลักษณ์ไท
หมุดหมายที่ 5 ไทยเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์และสุขภาพมูลค่าสูง มุ่งเน้นยกระดับบริการทางการแพทย์และสุขภาพ ด้วยนวัตกรรม เทคโนโลยีขั้นสูง และอัตลักษณ์ไท
หมุดหมายที่ 6 ไทยเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะและอุตสาหกรรมดิจิทัลของอาเซียน มุ่งเน้นผลักดันการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในทุกภาคส่วน ต่อยอดอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ไปสู่อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริย
หมุดหมายที่ 7 SMEs วิสาหกิจชุมชน และวิสาหกิจเพื่อสังคมเติบโตอย่างต่อเนื่อง
หมุดหมายที่ 8 พื้นที่และเมืองมีความเจริญทันสมัยน่าอยู่
หมุดหมายที่ 9 ความยากจนข้ามรุ่นลดลงและได้รับการคุ้มครองทางสังคมเพียงพ
หมุดหมายที่ 10 เศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคาร์บอน
หมุดหมายที่ 11 ลดความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ
มุดหมายที่ 12 กำลังคนมีสมรรถนะสูงตอบโจทย์พัฒนาแห่งอนาคต
หมุดหมายที่ 13 ภาครัฐมีสมรรถนะสูง
ประกอบด้วย ๖ ยุทธศาสตร์ดัง
ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
2.ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
3.ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
4.ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสเเละความเสมอภาคทางสังคม
5.ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
6.ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
เป้าหมาย
“ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน”
Phase 1 (พ.ศ.2560-2564) ปฏิรูปสุขภาพ
การปรับเปลี่ยนระบบบริหารจัดการที่ยังเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา การวางพื้นฐานระบบสุขภาพใหม่ การวางระบบการแพทย์ เพื่อดูแลผู้ปวยอย่างบูรณาการ ลดค่าใช้จ่ายของระบบสุขภาพในระยะยาว การปรับระบบหลักประกันสุขภาพ เพื่อลดความเหลื่อมล้ำของแต่ละกองทุน
Phase 2 (พ.ศ.2565-2569) สร้างความเข็มแข็
การจัดโครงสร้างพื้นฐาน กำลังคน รวมทั้งระบบการบริหารจัดการ ให้เข้มแข็ง รวมไปถึงระบบควบคุม ป้องกันโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และที่สำคัญคือการทำให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพของตัวเองได้
hase 3 (พ.ศ.2570-2574) สู่ความยั่งยืน
เป็นช่วงที่ระบบสุขภาพของไทยต้องมีความยั่งยืนทางด้านการเงิน การคลัง ประเทศสามารถพึ่งพาตนเองได้โดยเฉพาะด้านยาและเวชภัณฑ์ต่างๆ พึ่งพาต่างประเทศให้น้อยที่สุด
Phase 4 (พ.ศ.2575-2579) เป็น 1 ใน 3 ของเอเชีย
ระบบสุขภาพไทยจะต้องเป็นระบบสุขภาพที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ คุณภาพ สังคมมีส่วนร่วมสามารถตรวจสอบได้ ทั้งนี้จะต้องสามารถแข่งขันหรือเทียบเคียงกับนานาชาติได้ โดยตั้งเป้าว่าจะต้องเป็น"1 ใน 3 ของเอเซีย ใน 20 ปีข้างหน้า
4 Excellence Strategies4 กลยุทธ์ความเป็นเลิศ
การปฏิรูประบบสาธารณสุข
1.การปฏิรูประบบบริหารจัดการด้านสุขภาพ
2.การปฏิรูประบบเทคโนโลยี
และสารสนเทศสุขภาพ
3.การปฏิรูปกำลังคนด้านสุขภาพ
4.การปฏิรูประบบบริการปฐมภูมิ
5.การปฏิรูปการแพทย์แผนไทยบริการ
และสมุนไพรไทยเพื่อเศรษฐกิจ
การปฏิรูประบบการแพทย์ฉุกเฉิน
. การปฏิรูปการสร้างเสริม
ป้องกันและควบคุมโรค
8.การปฏิรูปความรอบรู้ด้านสุขภาพ
การปฏิรูปการคุ้มครองผู้บริโภค
10.การปฏิรูประบบหลักประกันสุขภาพ
บริการเป็นเลิศ
ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ/ เขตเศรษฐกิจพิเศษ
การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์
ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ
1 พัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย
2 การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
3 ความปลอดภัยด้านอาหารและลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
4 การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
บุคลากรเป็นเลิศ
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนและภาคประชาสังคมด้านสุขภาพ
การวางแผนความต้องการอัตรากำลัง
การผลิตและพัฒนากำลังคน
การพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล
ความมั่นคงด้านยาและเวชภัณฑ์และการคุ้มครองผู้บริโภค
ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ
ระบบหลักประกันสุขภาพ
ระบบธรรมาภิบาล