Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน ชื่อ นางสาว นพมาศ ราชเสนา…
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน
ชื่อ นางสาว นพมาศ ราชเสนา เลขที่ 31ห้อง [305]
6.1การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล
1.การนำเสนอ
2.ความสัมพันธ์
3.วัตถุประสงค์
4.วิธีการ
5.แหล่งที่มา
6.เวลา
6.2เหตุผลวิบัติ
1.เหตุผลวิบัติแบบเป็นทางการเกิดจากการให้เหตุผลที่ใช้หลักตรรกะที่ไม่ถูกต้อง แต่เขียนในรูปแบบที่เป็นทางการทำให้ดูสมเหตุสมผล
2.เหตุผลวิบัติแบบไม่เป็นทางการเกิดจากการให้เหตุผลที่ไม่เกี่ยวข้องกับการใช้ตรรกะในการพิจารณาแต่เป็นการสันนิษฐาน หรือเล่นสำนวน ซึ่งเกิดจากการใช้ภาษาชักนำให้เกิดความเข้าใจผิด เช่น การพูดกำกวม หรือการพูดมากเกินความจำเป็น
6.3การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
6 3 1 การทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์อย่างปลอดภัยการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์มี 2 รูปแบบคือ
1.การทำธุรกรรมโดยตรงระหว่างผู้ขายและผู้ซื้อ
2.การทำนิติกรรมโดยผ่านผู้ให้บริการ
6 3 2 การรู้เท่าทันสื่อ
การรู้เท่าทันสื่อสามารถแบ่งออกเป็น 3 ระดับดังนี้
ระดับที่ 1 ผู้รับสื่อตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกและจัดสรรเวลาการใช้สื่อต่างๆ
ระดับที่ 2 ผู้รับสื่อสามารถเรียนรู้ทักษะการรับสื่อแบบวิพากษ์วิเคราะห์และตั้งค่าถามว่าสื่อถูกสร้างขึ้นมาได้อย่างไรและมีความน่าเชื่อถือหรือไม่
ระดับที่ 3 ผู้รับสื่อสามารถวิเคราะห์สื่อในเชิงสังคมการเมืองเศรษฐกิจและวัฒนธรรมอย่างสร้างสรรค์จนนำไปสู่การสร้างเวทีทางสังคม
6 3 3 ข่าวลวงและผลกระทบลักษณะของข่าวลวงเช่น 1 สร้างเรื่องราวเพื่อให้เป็นจุดสนใจของสังคม 2 สร้างความหวาดกลัว 3ความโลภ
4 สร้างความเกลียดชัง 5 ทรงต่อกันมาผ่านเครือข่ายทางสังคม 6 ไม่ระบุแหล่งที่มาเสร็จขยายความต่อจากอคติของคนทั่วไปที่มีอยู่ก่อนแล้วเพื่อหวังให้ตัวเองได้รับผลประโยชน์หรือเพื่อใช้โจมตีคู่แข่ง
6.4กฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. 2560
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ 2550 และการแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่2)พ.ศ2560
6.5การใช้งานลิขสิทธิ์ที่เป็นธรรม
ตัวอย่างการใช้งานลิขสิทธิ์ที่ไม่เป็นธรรม
4.การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบทดลองใช้อย่างต่อเนื่องแม้ว่าจะหมดอายุการใช้งา.
3.ผู้นำไปใช้ในเจตนาทุจริตโดยการนำงานที่มีลิขสิทธิ์ไปใช้โดยไม่อ้างอิงหรือใช้ในลักษณะที่ทำให้ผู้อื่นเข้าใจว่าผลงานลิขสิทธิ์นั้นเป็นของตน
2.ผู้สอนถ่ายเอกสารหนังสือเรียนเพื่อขายกับผู้เรียนจำนวนมากทำให้เจ้าของลิขสิทธิ์สูญเสียรายได้
1.การดาวน์โหลดเพลงผู้อื่นไปขาย
ตัวอย่างการใช้งานลิขสิทธิ์ที่เป็นธรรม
การทำซ้ำโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นโดยไม่ได้แสวงหากำไรซึ่งเจ้าของลิขสิทธิ์เปิดโอกาสให้สาธารณชนทำซ้ำโดยไม่คิดมูลค่า
การเสนอรายงานหรือตีวิจารณ์แนะนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในปริมาณที่สมควรและมีการอ้างอิง
การคัดลอกคำกล่าวหรือบทความโดยย่อและมีการอ้างอิงในการรายงานข่าว
การสำเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีไว้จำหน่ายสามารถสำรองไว้เพื่อป้องกันการสูญหาย
การรายงานข่าวงานวรรณกรรมที่ตีพิมพ์เพื่อวางจำหน่ายที่รายงานไปเกิน 10% หรือ 1,000 คำและใช้ภาพไม่เกิน 6 ภาพและมีการอ้างอิงถึงซึ่งเป็นการใช้งานในปริมาณพอสมควรถือว่าเป็นการใช้งานที่เป็นธรรม
การรายงานข่าวโดยไม่ใช้ music video ประกอบไม่เกิน 10% หรือไม่เกิน 30 วินาทีของผลงานนั้นโดยมีการอ้างอิงเจ้าของผลงาน
การวิจัยหรือศึกษางานด้วยไม่แสวงหากำไรเช่นนักเรียนสำเนาข้อความบางส่วนในบทความเพื่อทำแบบฝึกหัด
ผู้สอนทำซ้ำดัดแปลงผลงานเพื่อประกอบการสอนแจกจ่ายจำนวนจำกัดเพื่อประโยชน์ในการเรียนการสอนและมีการอ้างอิงเจ้าของลิขสิทธิ์โดยไม่แสวงหากำไร
ในกรณีหนังสือที่ไม่ได้พิมพ์จำหน่ายเป็นเวลานานและการนำไปใช้งานไม่กำหนดของเจ้าของลิขสิทธิ์จนทำให้เจ้าของลิขสิทธิ์ขายไปไม่ได้เนื่องจากหนังสือมีไม่มีการขายในท้องตลาดแล้วก็อาจถือว่าเป็นการใช้ลิขสิทธิ์ที่เป็นธรรมได้
การนำงานลิขสิทธิ์มาใช้เพื่อสังคมโดยคัดลอกปรับเปลี่ยนเพิ่มเติมสิ่งใหม่และมีการอ้างอิงในงานวิจัยเพื่ออธิบายความคิดเห็นของผู้เขียน