Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายและจริยธรรมในยุคดิจิทัล(ขมิบศรี) - Coggle Diagram
กฎหมายและจริยธรรมในยุคดิจิทัล(ขมิบศรี)
ความหมายของกฎหมาย
กฎเกณฑ์ที่วางระเบียบเพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคม โดยมีสภาพบังคับให้บุคคลกระท าหรือไม่ให้
กระท า เพื่อก าหนดความประพฤติของบุคคลในรัฐ
ความสำคัญของกฎหมาย
กฎหมายเป็นเครื่องมือในการพัฒนาสังคม
กฎหมายเป็นเครื่องมือของรัฐในการบริหารประเทศ
กฎหมายเป็นตัวกำหนดความสำคัญของตัวบุคคล
กฎหมายเป็นเครื่องมือในการรักษาความสงบเรียบร้อยในสังคม
ลักษณะของกฎหมาย
กฎหมายเป็นคำสั่งหรือข้อบังคับที่กำหนดขึ้นจากคณะ บุคคลที่มีอำนาจสูงสุดในรัฐ
เป็นคำสั่งหรือข้อบังคับที่ใช้ได้ทั่วไปในประเทศนั้น ๆ
เป็นข้อบังคับที่ใช้ได้เสมอไป
กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ คือ ต้องมีการกำหนด ความผิด
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Law)
1.กฏหมายเกี่ยวกับธุระกรรมทางอิเล็กทลอนิกส์
เพื่อรับรองสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอข้อมูลที่ท าในกระดาษ อัน
เป็นการรองรับนิติสัมพันธ์ต่างๆ ซึ่งแต่เดิมอาจจะจัดท าขึ้นในรูปแบบของหนังสือ ให้เท่าเทียม
กับนิติสัมพันธ์รูปแบบใหม่ที่จัดท าขึ้นให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์รวมตลอดทั้งการ
ลงลายมือชื่อในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
3) กฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน
เพื่อก่อให้เกิดการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศอันได้แก่โครงข่ายโทรคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศทรัพยากรมนุษย์ และโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศส าคัญอื่น ๆอันเป็นปัจจัยพื้นฐานส าคัญในการพัฒนาสังคมและชุมชนโดยอาศัยกลไกของรัฐซึ่งรองรับเจตนารมณ์ส าคัญประการหนึ่งของแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
2) กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
เพื่อรับรองการใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยกระบวนการใด ๆ ทางเทคโนโลยีให้เสมอ
ด้วยการลงลายมือชื่อธรรมดาอันส่งผลต่อความเชื่อมั่นมากขึ้นใน การท าธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ และก าหนดให้มีการก ากับดูแลการให้บริการเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
ตลอดจนการให้ บริการอื่น ที่เกี่ยวข้องกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
4) กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
เพื่อก่อให้เกิดการรับรองสิทธิ และให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลซึ่งอาจถูกประมวลผลเปิดเผยหรือเผยแพร่ถึง
บุคคลจ านวนมากได้ในระยะเวลาอันรวดเร็วโดยอาศัยพัฒนาการทางเทคโนโลยีจนอาจก่อให้เกิดการน าข้อมูลนั้นไปใช้ในทางมิชอบอันเป็นการละเมิดต่อเจ้าของข้อมูลทั้งนี้โดยค านึงถึงการรักษาดุลยภาพระหว่างสิทธิขั้นพื้นฐานในความเป็นส่วนตัว เสรีภาพในการติดต่อสื่อสาร และความมั่นคงของรัฐ
5) กฎหมายเกี่ยวกับการกระท าความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ และ กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์
เพื่อก าหนดมาตรการทางอาญา ในการลงโทษ
ผู้กระท าผิดต่อระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ระบบ
ข้อมูล และระบบเครือข่ายทั้งนี้เพื่อเป็นหลักประกัน
สิทธิเสรีภาพ และการคุ้มครองการอยู่ร่วมกันของสังคม
คุณธรรมจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
คุณธรรม (Virtue)
คุณงามความดี สิ่งที่มีคุณค่า มีประโยชน์ เป็นความดีงาม เป็นมโนธรรมเป็นเครื่องประคับประคองใจให้เกลียดความชั่วกลัวบาป ใฝ่ความดี และเป็นเครื่องกระตุ้นผลักดันให้เกิดความรู้สึกผิดชอบ เกิดจิตส านึกที่ดีมีความสงบเย็นภายใน
จริยธรรม (Ethics)
หมายถึง หลักของความถูกและความผิดที่บุคคลใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ
จริยธรรมมีบทบาทในการช่วยลดปัญหาอันเกิดจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในทางที่ไม่ถูกต้องไม่สมควร และไม่ครอบคลุมโดยกฎหมายที่มีอยู่ในปัจจุบัน
ข้อแตกต่างของกฎหมายและจริยธรรม
กฎหมาย เป็นค าสั่งหรือข้อบังคับของรัฐ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามจะต้องได้รับโทษ ที่ระบุไว้
จริยธรรม สิ่งที่ควรประพฤติควรท า ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามก็ไม่ต้องรับโทษทางกฎหมายบ้านเมือง แต่อาจถูก
ลงโทษทางสังคม
หรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์
และสารสนเทศ ประกอบด้วย 4 ประเด็น ที่เรียกกันในลักษณะตัวย่อว่า PAPA
ความเป็ นส่วนตัว (Information Privacy)
เป็ นสิทธิที่เจ้าของสามารถควบคุมข้อมูลของตนเองได้
2.ความถูกต้อง(Information Accuracy)
3.ความเป็นเจ้าของ (Information porperty)
การเข้าถึงข้อมูล