Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความเครียด, Source https://www.bumrungrad.com/th/conditions/stress …
ความเครียด
การป้องกันความเครียด
ดูแลสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง
18.วิธีการดูแลสุขภาพให้แข็งแรง
กินอาหารให้ครบห้าหมู่
25.อาหารห้าหมู่มีอะไรบ้าง
อาหารหลักหมู่ที่ 1 โปรตีน ( เนื้อสัตว์ ไข่ นม ถั่ว )
อาหารหลักหมู่ที่ 2 คาร์โบไฮเดรต ( ข้าว แป้ง น้ำตาล เผือก มัน )
อาหารหลักหมู่ที่ 3 เกลือแร่ และแร่ธาตุต่าง ๆ ( พืชผัก )
อาหารหลักหมู่ที่ 4 วิตามิน ( ผลไม้ )
อาหารหลักหมู่ที่ 5 ไขมัน ( ไขมันจากพืชและสัตว์ )
ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
นอนหลับให้เพียงพอ
นอนเท่าไหร่ถึงเพียงพอ
26.ปัจจัยอะไรที่ทำให้นอนหลับอย่างเพียงพอ
ชั่วโมงการนอน
28.นอนประมาณกี่ชั่วโมงถึงเพียงพอ
วัยเด็กหรือวัยผู้ใหญ่
2 more items...
คุณภาพการนอน
การหลับอย่างมีคุณภาพ คือ ครบวงจรทุกระยะการหลับ
31.นอนหลับมีกี่ระยะ
1 more item...
27.การนอนที่มีคุณเป็นอย่างไร
ปัจจัย
การเข้ารับการตรวจสุขภาพเป็นประจำ
46.ข้อดีของการเข้ารับการตรวจสุขภาพอย่างเป็นประจำ
การป้องกันโรค
การติดตามสุขภาพ
47.การตรวจสุขภาพเป็นประจำ มีองค์ประกอบอะไรบ้าง
การตรวจสุขภาพประจำปี
49.ทำไมถึงต้องตรวจสุขภาพประจำปี
เพราะเป็นการลงทุนในสุขภาพของบุคคลที่สามารถช่วยป้องกันปัญหาสุขภาพในอนาคตและเพิ่มคุณภาพชีวิตได้
การตรวจสุขภาพเฉพาะทาง
ทำไมถึงต้องตรวจสุขภาพเฉพาะทางประจำปี
สามารถให้ตรวจพบปัญหาสุขภาพก่อนที่จะแสดงอาการและได้รับการรักษาอย่างทันเวลา
การตรวจสุขภาพคัดกรอง
ทำ ทำไมต้องตรวจสุขภาพคัดกรอง
เพราะการตรวจสุขภาพคัดกรองเป็นเครื่องมือที่สำคัญเพราะการตรวจสุขภาพคัดกรองเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการป้องกันโรคและรักษาสุขภาพ โดยรวมให้ดีขึ้น
ฝึกเทคนิคการผ่อนคลาย ความเครียด
17.วิธีฝึกเทคนิคผ่อนคลาย ความเครียด
แก้ที่สาเหตุความเครียด
ออกกำลังกาย
19.การรออกกำลังแบบไหนที่เหมาะสม
ออกกำลังกายต่อเนื่องนานพอควร ประมาณ 20 นาที ร่างกายจะหลั่งสารแห่งความสุข (Endophine) ขึ้นในสมอง ช่วยให้มีความสุข และรู้สึกสบายใจ และผ่อนคลายความเครียด
ทานอาหารที่สามารถช่วยลดความเครียด
20.อาหารอะไรบ้างที่ลดความเครียดได้
ชาเขียว
23.ช่วยลดได้อย่างไร
มีสาร แอล-ธีอะนีน (L-theanine) ซึ่งเป็นโปรตีนที่ช่วยทำให้สมองผ่อนคลาย ลดความเครียดและความวิตกกังวลได้
ดาร์กช็อกโกแลต
22.ช่วยลดได้ อย่างไร
มีสารอะนันดาไมด์ (Anandamide) ซึ่งช่วยลดความเจ็บปวด ควบคุมอุณหภูมิในร่างกายและกระตุ้นให้อารมณ์ดีขึ้น และยังมีสารแฟนิลเอทิลามีน (Phenylethylamine-PEA) ช่วยสร้างสารสื่อประสาทช่วยในการลดความเครียด
ส้มหรือฝรั่ง
21.ช่วยลดได้อย่างไร
มีวิตามินซีสูง ช่วยต้านอนุมูลอิสระได้ และยังช่วยลดฮอร์โมนคอร์ติซอล (Cortisol) ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่เกิดจากความเครียดได้ด้วย
กล้วย ถั่วเปลือกแข็ง เนื้อสัตว์ และไข่
24.ช่วยลดได้อย่างไร
มีกรดอะมิโน ทริปโตเฟน (Tryptophan) ซึ่งเป็นสารตั้งต้นของการผลิตฮอร์โมนเชโรโทนิน (Serotonin) ซึ่งเป็นสารสื่อประสาทที่ช่วยทำให้รู้สึกอารมณ์ดี
เรียนรู้ที่จะปฏิเสธงานที่หากยุ่งหรืองานหนักเกินไป
เปลี่ยนแปลงทัศนคติ
16.วิธีเปลี่ยนแปลงทัศนคติ
มองความท้าทายว่าเป็นโอกาสในการเรียนรู้และเติบโต หรือใช้หลักการทางศาสนาเข้าช่วยเพื่อให้มีสติและมีความสงบสุขในจิตใจ
15.สามารถป้องกันความเครียดอย่างไรได้บ้าง
ประเภทของความเครียดมีกี่ประเภท
ประเภทAcute stress
35.Acute stress คืออะไร
ความเครียดที่เกิดขึ้นทันทีจากความกดดันในสถานการณ์ที่เฉพาะเจาะจง
39.สถานการณ์ใดบ้างที่เกิดความเครียดทันที
อุบัติเหตุ
การประชุมหรือการนำเสนอที่สำคัญ
การเผชิญ สถานการณ์ที่ไม่คาดคิด
การคบกับเหตุการณ์ที่น่ากลัวหรือเหตุการณ์เสี่ยงภัย
ประเภทEpisodic acute stress
36.Episodic acute stress คืออะไร
ความเครียดที่เกิดขึ้นทันทีหลายครั้งติดต่อกัน
ประเภทChronic stress
37.Chronic stress คืออะไร
ความวิตกกังวลและความกดดันที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องจนเหมือนไม่มีวันสิ้นสุดจนสะสมเป็นความเครียดเรื้อรัง ความเครียดเช่นนี้มีผลต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต
38.สถานการณ์ใดบ้างที่เกิดความเครียดสะสมเรื้อรัง
ปัญหาทางการเงิน
ความเครียดจากการทำงาน
ความสัมพันธ์ที่ไม่ดี
ปัญหา สุขภาพ
ปัญหาส่วนตัว
34.ความเครียดมีประเภทอะไรบ้าง
สาเหตุ
2.อาการเครียดทางด้านร่างกายมีอะไรบ้าง
นอนหลับยาก
อ่อนเพลีย
หัวใจเต้นเร็ว
ปวดศีรษะ
เจ็บหน้าอก
ปวดเมื่อยตามร่างกายกล้ามเนื้อปวดเกร็งนอนกัดฟัน
4.วิธีการแก้อาการนอนกัดฟัน
มีปัญหาทางระบบเดินอาหาร
เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
ภูมิคุ้มกันอ่อนแอ
3.อาการเครียดทางด้านจิตใจมีอะไรบ้าง
วิตกกังวล
หงุดหงิดรำคาญ
รู้สึกเศร้า
5.ทำไมถึงเศร้า
จากสังคม
12.เรื่องจากสังคมอะไรที่ทำให้เศร้า
โซเชียลมีเดีย
14.โซเชียลมีเดียทำให้เศร้าได้อย่างไร
การเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตตนเองกับผู้อื่น
FOMO (Fear of missing out) การเห็นว่าผู้อื่นประสบความสำเร็จ ซึ่งทำให้ ซึ่งทำให้รู้สึกเหมือนถูกทิ้งไว้
Cyber bullying การกลั่นแกล้งทางออนไลน์
เสพติดโซเชียลมีเดีย มากจนเกินไป
การได้รับข่าวสารรุนแรงที่เป็นเชิงลบมากเกินไป
ความกดดันในการสร้างภาพลักษณ์
การขาดความสัมพันธ์ที่มีคุณภาพหรือเผชิญกับความสัมพันธ์ที่เป็นพิษ
การถูกกีดกันหรือกดขี่
ความเหลื่อมล้ำความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและความแตกต่างระหว่างคนรวยและจน
ความคาดหวังและความกดดันจากสังคม
จากตนเอง
11.เรื่องจากตนเองอะไรที่ทำให้เศร้า
การสูญเสีย
ความล้มเหลวหรือความผิดหวัง
ความโดดเดี่ยว
ความผิดในอดีต
การเปรียบเทียบตนเองกับผู้อื่น
ซึมเศร้า
6.อาการเป็นอย่างไร
มีการเศร้า,ซึม อย่างต่อเนื่องหลายวันต่อติดกัน หรือ อาจจะไม่ช่วงเวลาสั้นๆก็ตาม
ซึมเศร้า เกิดจากอะไรบ้าง
กรรมพันธุ์
9.เกิดได้อย่างไร
พันธุกรรมหรือพื้นฐานดั้งเดิม มีประวัติสมาชิกในครอบครัวเป็นโรคซึมเศร้า หรือมีลักษณะนิสัยเป็นคนอ่อนไหวง่าย คิดมาก มองโลกในแง่ลบ รวมถึงการมีสารเคมีในสมองที่ไม่สมดุล
เลี้ยงดู
10.เกี่ยวได้อย่างไร
เด็กที่ไม่ได้รับการเลี้ยงดูอบอุ่นมีโอกาสสูงที่จะให้พอโตมา จะมีปมกับเรื่องในวัยเด็กซึ่งเป็นสิ่งที่สามารถก่อให้เกิดโรคซึมเศร้าได้
ความเสียใจ
ความเจ็บป่วยทางร่างกาย
13.ได้แก่อะไรบ้าง
อาการ ตำแหน่งของโรคและระยะของโรค
การรักษา และผลการรักษา
การสูญเสียอวัยวะ สมรรถภาพ
ความช่วยเหลือและท่าทีของแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์
7.รักษาอย่างไร
การพูดคุยให้คำปรึกษา การทำจิตบำบัด รวมถึงการใช้ยาในกลุ่มแก้ซึมเศร้าหากมีความจำเป็น
1.มีสาเหตุอะไรบ้าง
ความเครียดทางด้านจิตใจ
ความเครียดทางด้านร่างกาย
ผลลัพธ์
33.มีผลลัพธ์ด้านไหนบ้าง
ผลลัพธ์ที่ส่งผลเสียต่อร่างกาย
40.ผลลัพธ์ของความเครียดที่ส่งผลต่อร่างกายในระยะสั้นยังไง
มีการทำงานผิดปกติบางส่วนในหลายๆด้าน
เป็นระยะเวลาสั้นๆ
42.ร่างกายส่วนไหนที่ได้รับผลกระทบบ้าง
ระบบประสาท
หัวใจและระบบไหลเวียนโลหิต
ปอด
กล้ามเนื้อ
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบภูมิคุ้มกัน
43.แตกต่างกันอย่างไร
ความเครียดมีผลต่อร่างกายในระยะสั้นโดยทำให้ความเครียดมีผลต่อร่างกายในระยะสั้นโดยทำให้หัวใจเต้นเร็วความดันโลหิตสูงและเกิดอาการวิตกกังวลหรือหงุดหงิดในขณะที่ผลกระทบระยะยาวอาจทำให้เกิดโรคเรื้อรัง
41.ผลลัพธ์ของความเครียดที่ส่งผลต่อร่างกายในระยะยาวยังไง
มีการทำงานมีการทำงานผิดปกติในหลายหลายส่วนของร่างกายเป็นระยะยาวหรืออาจจะเป็นถาวร
43.มีร่างกายส่วนไหนบ้างที่ได้รับผลกระทบ
หัวใจและหลอดเลือด
ระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบการเจริญพันธุ์
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบประสาท
ระบบฮอร์โมน
ผลลัพธ์ที่ส่งผลเสียต่อจิตใจ
44.ส่งผลเสียต่อจิตใจด้านอะไรบ้าง
สมาธิ
พฤติกรรม
อารมณ์
ผลลัพธ์ที่ส่งผลเสียต่อ ความสัมพันธ์
45.ส่งผลเสียต่อความสัมพันธ์ได้อย่างไรบ้าง
ความเครียด อาจทำให้ อาจทำให้เกิดความขัดแย้งหรือปัญหาในครอบครัวและเพื่อน
Source
https://www.bumrungrad.com/th/conditions/stress
https://www.medparkhospital.com/disease-and-treatment/stress#symptoms
https://www.bedee.com/articles/mental-health/stress-management
https://www.theoasiscare.com/post/blog01?gad_source=1&gbraid=0AAAAAqnfa8y3j9kkMK6OIBY7SbFUDWLog&gclid=Cj0KCQjwlvW2BhDyARIsADnIe-I73G0Sym1nTixYBUKZ1hO1zZXQS7p9yAmQxOp8DgzS7jXKJIOUwyMaAr3YEALw_wcB
https://www.rama.mahidol.ac.th/ramamental/generaldoctor/05302015-1735