Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน ด.ช หนึ่ง โอชาพันธุ์ 307…
บทที่6
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน
ด.ช หนึ่ง โอชาพันธุ์ 307 เลขที่ 15
6.1 การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล
3.วัตถุประสงค์
2.ความสัมพันธุ์
4.วิธีการ
1.การนำเสนอ
6.เวลา
5.แหล่งที่มา
6.2 เหตุผลวิบัติ
1.เหตุผมวิบัติแบบทางการ
2.เหตุผลวิบัติแบบไม่เป็นทางการ
6.3 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
6.3.2 การรู้เท่าทันสื่อ
6.3.3 ข่าวลวงและผลกระทบ
6.3.1 การทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์อย่างปลอดภัย
6.4 กฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
๑ พระราชบัญญัติการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และ สังคม พ.ศ 2560
๑ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ 2550 และการแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ 2560
การใช้เทคโนโลยีอย่างรู้เท้าทัน
การใช้งานลิขสิทธ์ที่เป็นธรรม
4.การนำงานลิขสิทธิ์มาใช้เพื่อสังคมโดยคัดลอก ปรับเปลี่ยนเพิ่มเติมสิ่งใหม่ และมีการอ้างอิงในงานวิจัย
5.การคัดลอกคำกล่าวหรือบทความโดยย่อ และมีการ อ้างอิง ในการรายงานข่าว
3.ในกรณีหนังสือที่ไม่ได้พิมพ์จำหน่ายเป็นเวลานานและการนำไปใช้งานไม่กระทบตลาดของเจ้าของลิขสิทธิ์จนทำให้เจ้าของ ลิขสิทธิ์ขายไม่ได้เนื่องจากหนังสือไม่มีขายในท้องตลาดแล้ว
6.การเสนอรายงานหรือติชมวิจารณ์แนะนำโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ ในปริมาณที่สมควรและมีการอ้างอิง
2.ผู้สอน ทำซ้ำ ดัดแปลงผมงานเพื่อประกอบการสอน แจกจ่าย จำนวนจำกัด
7.การทำซ้ำโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นโดยไม่ได้แสวงหากำไร ซึ่งเจ้าของลิขสิทธิ์เปิดโอกาสให้สาธารณชนทำซ้ำ โดยไม่คิดมูลค่า
1.การวิจัยหรือศึกษางาน โดยไม่แสวงหากำไร
8.การสำเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีไว้จำหน่ายสามารถสำรองไว้เพื่อป้องกันการสูญหาย
การใช้งานลิขสิทธ์ที่ไม่เป็นธรรม
2.ผู้สอนถ่ายเอกสารหนังสือเรียนเพื่อขายกับผู้เรียนจำนวนมาก ทำให้เจ้าของลิขสิทธิ์สูญเสียรายได้
3.ผู้นำไปใช้มีเจตนาทุจริต โดยการนำงานที่มีลิขสิทธิ์ไปใช้โดยไม่อ้างอิง หรือใช้ในลักษณะที่ทำให้ผู้อื่นเข้าใจว่าผลงาน ลิขสิทธ์นั้นเป็นของตนเอง
1.การดาวน์โหลดเพลงผู้อื่นไปขาย
4.การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบทดลองใช้ (shareware) อย่างต่อเนื่อง แม้ว่าจะหมดอายุการใช้งาน