Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวโน้วเทคโนโลยีดิจิทัลในอนาคต (บุณยธร ขวัญสูตร) 2/3 - Coggle Diagram
แนวโน้วเทคโนโลยีดิจิทัลในอนาคต
(บุณยธร ขวัญสูตร) 2/3
เทคโนโลยีบล็อกเชน
ความน่าเชื่อถือระหว่างบุคคลในการทําธุรกรรมนั้น ๆ จึงจําเป็นต้องมีการกําหนดบุคคลที่สามเข้ามาช่วยควบคุมตรวจสอบให้เกิดความน่าเชื่อถือขึ้น บุคคลที่สามนี้ได้แก่ ธนาคาร หรือสถาบันอื่น ๆ
การประยุกต์ใช้บล็อกเชน
การบริการที่เกี่ยวข้องกับการเงินและการลงทุน
การทำธุรกรรมออนไลน์ของธนาคาร
การประยุกต์ใช้กับบิทคอยน์
การทำธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ที่มีการซื้อขายและ
แลกเปลี่ยน
การทํางานของบล็อกเชน
เป็นโครงสร้างข้อมูล (Data Structure) แบบหนึ่งที่ทําให้รายการข้อมูล(Transaction)แต่ละรายการถูกสร้างขึ้นในลักษณะเป็นบล็อก (Block) ที่สามารถเชื่อมต่อกันได้เป็นเสมือนห่วงโซ่ (Chain)ทําให้แต่ละบล็อกนั้นเชื่อมต่อไปยังโหนดต่าง ๆ ในเครือข่าย
การประยุกต์ใช้บล็อกเชน
บิทคอยน์(Bitcoin)
สกุลเงินในรูปแบบของดิจิทัลแรกของโลกที่ได้รับความนิยม เป็นคริปโตเคอเรนซี(Cryptocurrency) หรือสกุลเงินที่มีการเข้ารหัสประเภทหนึ่ง ถูกสร้างขึ้นมาด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ไม่มีรูปร่างและไม่สามารถจับต้องได้เหมือนธนบัตรหรือเหรียญ
อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
การเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้สามารถสื่อสารกันได้โดยอาศัยเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเป็นตัวกลางในการเชื่อมโยง และสามารถควบคุมสั่งการอุปกรณ์เหล่านั้นผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น การสั่ง เปิด ปิดหลอดไฟ
องค์ประกอบสำคัญ
เครือข่ายอุปกรณ์
รับรู้สัญญาณ(Wireless Sensor
Network: WSN)
เทคโนโลยีการ
เข้าถึง(Access
Technology)
บลูทูธ
ตัวเชื่อมต่อเครือข่ายอุปกรณ์รับรู้สัญญาณ(Gateway)
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
บ้านอัจฉริยะ (Smart Home)
อุปกรณ์สวมใส่ (Wearable)
เมืองอัจฉริยะ (Smart City)
โครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Grid)
รถยนต์อัจฉริยะ (Connected car)
อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งภาคอุตสาหกรรม
ระบบสุขภาพแบบครบวงจร (Connected health)
ฟาร์มอัจฉริยะ (Smart farming)
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI)
ความฉลาด ความรู้ที่สร้างขึ้นมาจากสิ่งที่ไม่มีชีวิต เป็นศาสตร์ที่อาศัยความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำให้คอมพิวเตอร์มีความสามารถในด้านการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และตัดสินใจคล้ายคลึงกับมนุษย์
กลุ่มของปัญญาประดิษฐ์
ระบบที่คิดและให้เหตุผลได้เหมือนมนุษย์
ระบบที่กระทำได้เหมือนมนุษย์
ระบบที่สามารถคิดได้อย่างมีหลักการและเหตุผล
ระบบที่กระทำได้ตามหลักการและเหตุผล
งานวิจัยด้าน
ปัญญาประดิษฐ์
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems)
โครงข่ายประสาทเทียม (Artificial Neural Network)
ตรรกศาสตร์คลุมเครือ (Fuzzy Logic)
วิทยาการหุ่นยนต์ (Robotics)
ภาษาธรรมชาติ (Natural Language)
ความหมาย
ความก้าวหน้าและความสําเร็จของเทคโนโลยีในปัจจุบัน ได้ผลักดันให้เกิดผลกระทบอย่าง
กว้างขวางในทุกด้านไม่ว่าจะเป็นในชีวิตประจําวัน สังคม การศึกษา
ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data)
เป็นเทคโนโลยีการประมวลผลข้อมูลข่าวสารที่มีจํานวนมากและหลากหลายรูปแบบ สามารถเพิ่มเข้ามาอย่างต่อเนื่องตลอดเวลาทั้งแบบที่เข้ามาตามขั้นตอนการประมวลผล
รูปแบบและคุณลักษณะของข้อมูลขนาดใหญ่
ขนาด (Volume)
ความหลากหลาย (Variety)
ความเร็ว (Velocity)
ความจริง (Veracity)
รูปแบบการวิเคราะห์ Big Data
การวิเคราะห์เชิงพรรณนา
การวิเคราะห์เชิงทํานาย
การวิเคราะห์แบบกําหนดเอง
การเรียนรู้ของเครื่องจักร (Machine Learning : ML)
การทําให้ระบบคอมพิวเตอร์เรียนรู้ได้ด้วยตนเองโดยใช้ข้อมูล แนวคิดด้านการเรียนรู้ของเครื่องจักรมีมานานมากแล้ว แต่เนื่องจากจะต้องใช้ทรัพยากรจํานวนมากในการประมวลผล
เทคโนโลยีเสมือนจริง (Reality)
ด้วยเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าในปัจจุบัน อุปกรณ์สื่อต่าง ๆ เช่น สมาร์ทโฟน ราคาถูกลงและมีการใช้งานอย่างแพร่หลายทําให้เทคโนโลยีเสมือนจริงถูกนํามาใช้ในงานด้านต่าง ๆ
ความจริงเสมือน (Virtual Reality: VR)
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการจําลองสภาพแวดล้อมที่ใกล้เคียงความเป็นจริงขึ้นมา และยังรวมถึงการจําลองข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวกับประสาทสัมผัสด้วย
ความจริงเสริม (Augmented Reality: AR)
แห่งความจริงเข้ากับโลกเสมือน โดยใช้อุปกรณ์ทางด้านฮาร์ดแวร์ร่วมกับซอฟต์แวร์ทําให้สามารถมองเห็นภาพที่มีลักษณะเป็นวัตถุ 3 มิติ ทับซ้อนเข้ากันกับภาพจริงเป็นภาพเป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการเชื่อมโยงโลก
ความจริงผสม (Mixed Reality : MR)
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีความจริงเสมือน (Virtual Reality) และเทคโนโลยีความจริงเสริม (Augmented Reality) เข้าด้วยกันเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในโลกความจริง และภาพจําลองที่สร้างขึ้นมาให้สามารถโต้ตอบกันได้แบบทันที