Mrs. Aruna, a 26 year-old G2P0-0-1-0 last abortion 1 year. The information from admission record was presented as follows:
Past: G1 GA 8 weeks, spontaneous abortion, no curettage.
Present: G2 GA 32 weeks, Para 0-0-1-0 last abortion 1 year.
History: No underlining chronic diseases. Lab investigation: CBC, VDRL, HIV, HBsAg and OFT = normal.
Reason for admission: Suprapubic pain and feeling of intermittent uterine contractions since 2 am and had mucous show at 7 am.
Physical examination: • V/S: T = 37.7 °C, P = 80 T/min, RR = 22 T/min BP = 110/70 mmHg.
• Urine examination: Albumin-trace, Sugar-negative.
• Height 160 cm, weight 58 kg, no edema.
Passenger: FH: 31 cm, head presentation and floated head. FHS was 132 T/min, regular rhythm. EFW = 2,300 gm.
Passage: Vaginal examination revealed a closed cervical os.
Power: Uterine contraction: duration 45 – 55 second, interval 5 minutes, moderate intensity.
She was admitted for close observation and further investigation. Dr. Thada has ordered some labs, which haven’t come back
- What laboratory tests would help to investigate the risk factors of the diagnosis that you have
concerned?
-
Urine Culture
เนื่องจากในกรณีที่มารดารายนี้ติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ ทำการตรวจหาเชื้อเพิ่มเติมเพื่อวินิจฉัยแยกโรคอย่างชัดเจน
-
-
- What will you include in your initial assessment of Mrs. Aruna, and why?
ในการประเมินแรกรับ ควรซักประวัติการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะร่วมด้วย เนื่องจากเมื่อร่างกายเกิดการติดเชื้อ ระบบภูมิคุ้มกันจะตอบสนองด้วยการอักเสบ ซึ่งจะมีการปล่อยสารเคมีที่เรียกว่าไซโตไคน์ (cytokines) และพรอสตาแกลนดิน (prostaglandins) ออกมา สารเหล่านี้สามารถกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ทำให้เกิดการคลอดก่อนกำหนดได้
- Based on your diagnosis, what is your plan of care for Mrs. Aruna, and why?
- วัดสัญญาณชีพ ทุก 4 ชม. โดยเฉพาะอุณหภูมิ เพื่อประเมินภาวะติดเชื้อ
- บันทึก intake/output ทุก 8 ชั่วโมง หรือทุกเวร
- จัดให้มารดาดื่มน้ำวันละ 2,500-3,000 cc เพื่อขับเชื้อโรคออกจากกระเพาะปัสสาวะ
- ให้การพยาบาลโดยยึดหลักเทคนิคปราศจากเชื้ออย่างเคร่งครัด โดยเฉพาะหัตถการที่เกี่ยวข้องกับช่องทางการเข้าของเชื้อโรค
- แนะนำให้มารดาชำระอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก จากด้านหน้าไปด้านหลัง ทุก 3-4 ชั่วโมง อย่างสม่ำเสมอ และหลังการขับถ่ายทุกครั้ง เพื่อขจัดสิ่งหมักหมม และลดจำนวนเชื้อโรคลง
- แนะนำมารดาไม่ให้กลั้นปัสสาวะ หากต้องการปัสสาวะ หรือรู้สึกกระเพาะปัสสาวะเต็ม ต้อง ปัสสาวะทันที ทั้งนี้เพราะน้ำปัสสาวะที่คั่ง ค้างในกระเพาะปัสสาวะ อาจเป็นแหล่งสะสมเชื้อ โรค ทำให้การทำงานของหูรูดท่อปัสสาวะเสียไป
- อธิบายให้มารดาเข้าใจ การติดเชื้อที่ระบบทางเดินปัสสาวะ เพื่อให้เกิดความตระหนักต่อการป้องกันการติดเชื้อ
- What is your main concern when you heard about the report
-
-