Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 32 ปี Dx.F20.0 Paranoid Schizophrenia :boy::skin…
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 32 ปี
Dx.F20.0 Paranoid Schizophrenia
:boy::skin-tone-2:
2
.
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล
:black_joker:
หูแว่ว เห็นภาพหลอน หวาดระแวง ควบคุมตัวเองไม่ได้ ทำร้ายตัวเอง 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล
3
.
ประวัติส่วนตัว (Personal history)
:boy::skin-tone-2: ผู้ป่วยชายไทย อายุ 32 ปี วัยผู้ใหญ่ตอนต้น มีพี่น้อง 2 คน ปัจจุบันอาศัยอยู่กับ บิดา มารดา และน้องชาย ผู้ป่วยค่อนข้างจะสนิทกับน้องชาย
ผู้ป่วยมีอุปนิสัยเป็นคนค่อนข้างใจเย็น แต่มักมีอารมณ์โมโหที่รุนแรงกับบางเรื่อง
ผู้ป่วยมักนะไม่ค่อนสนิทกับมารดา เพราะมักจะมีปัญหากับมารดาเป็นประจำ เนื่องจากมารดาเป็นคนมีอุปลักษณะนิสัยเป็นคนขี้บ่น ตนจะชอบพูดคุยกับบิดาและน้องชายมากกว่ามารดา เนื่องจากบิดามีลักษณะนิสัยเป็นคนใจดี ใจเย็น มีเหตุผล ส่วนน้องชายนั้นมีอายุและวัยใกล้เคียงกับผู้ป่วย ผู้ป่วยเล่าว่าเวลาตนเองเครียดก็มักจะมาปรึกษากับน้องชายอยู่บ่อยครั้งแต่เนื่องจากปัจจุบัน
น้องชายมีครอบครัวแล้ว ผู้ป่วยจึงไม่อยากที่จะทำให้น้องชายเครียดตามจึงเลือกที่จะไม่ปรึกษา
ประวัติการใช้สารเสพติด
:deciduous_tree:
:house_with_garden:
อายุ 15 ปี**
มีการเริ่มใช้จาก
การถูกชักชวน รวมถึงตนเอวอยากรู้อยากลองด้วย ซึ่งเป็นยาบ้า โดยมีการใช้ยาบ้าด้วยวิธีการนำไปบดใส่ฟรอยเสพ เสพวันละ 4 ขา เท่ากับ 1 เม็ดต่อวัน
จากนั้นประมาณ 2 สัปดาห์เริ่มมีการดื่มแอลกอฮอล์ ร่วมกับการเสพด้วยทุกครั้ง วันละ 1 ขวด
อายุ 21 ปี
ผู้ป่วยยังคงมีการใช้สารเสพติดเนื่องจากให้เหตุผลว่าตนมีอาการเครียดจากการทำงาน จึงเริ่มมีการใช้สารเสพติดที่มากขึ้นเป็น
ยาบ้าจำนวน 2 เม็ด และมีการใช้ยาไอซ์ร่วมด้วย จำนวน วันละ 1 ตับ
โดยมีการใช้ต่อเนื่องเป็นประจำทุกวัน :pig: :champagne:
อายุ 32 ปี
มีการใช้ยาบ้าจำนวน วันละ 10 เม็ด และมีการดื่มแอลกอฮอล์ร่วมด้วยขณะทำการเสพยาบ้า ผู้ป่วยให้เหตุผลว่าที่ตนเองต้องมีการเสพจำนวนมากขึ้นเนื่องจากแต่ก่อนยาบ้าแพงแต่ความเข้มข้นในเม็ดยาค่อนข้างเข้มข้นถึงใจ เสพแล้วดีดเป็นม้า แต่ปัจจุบัน ยาบ้าถูกแต่สารหรือความเข้มข้นในยาลดลง เมื่อเสพตนจึงต้องมีการเสพในปริมาณมากขึ้นกว่าเดิม :rice_ball:
การวิเคราะห์กลไกการเกิดปัญหาทางจิต 4 P
:ambulance:
1.Predisposing ปัจจัยนำ :champagne:
1.ครอบครัวมีปัญหาพ่อแม่ทะเลาะกัน
การอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดี
การอยู่ในสังคมเพื่อนที่ไม่ดี
การอยากรู้อยากลอง
Precipitating
ปัจจัยกระตุ้น :tada:
1.การใช้สารเสพติด
2.การรับประทานยาไม่สม่ำเสมอ
3.การอยู่ในสังคมที่ไม่ดี
4.เครียดจากการทำงาน และรายได้
5.ทะเลาะกับคนในครอบครัว
6.ไม่มีครอบครัว ไม่มีที่ปรึกษา
3.Perpetuating ปัจจัยที่ยังอยู่ :ghost:
1.การอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดี
2.การมีสังคมเพื่อนไม่ดี
ความเครียดจากการทำงาน เศรษฐกิจไม่ดี
มีปัญหาทะเลาะกับคนในครอบครัว
5.ไม่มีที่ปรึกษา
4.Protective ปัจจัยปกป้อง :man-girl-boy:
1.ครอบครัว
2.ผู้นำชุมชน ( ผู้ใหญ่บ้าน ฝ่ายปกครอง )
3.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพส่วนตำบลใกล้บ้าน
4.โรงพยาบาลชุมชน
5.หน่วยงานภาครัฐ
1.3 :car:
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
:sunflower:
3สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาล
หูแว่ว เห็นภาพหลอน หวาดระเเวง ทำร้ายตัวเอง โดยเอามือตบตีต่อยตัวเอง และเอาหัวโขลกกำแพงห้องขังในเรือนจำ
9 วันก่อนมาโรงพยาบาล
หูแว่ว เห็นภาพหลอน หวาดระเเวง ควบคุมตัวเองไม่ได้ เจ้าหน้าที่เรือนจำจึงนำตัวส่งเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลสระแก้วราชนครินทร์ :hourglass_flowing_sand:
1 วันก่อนมาโรงพยาบาล
มีหูแว่ว เป็นภาพหลอน หวาดระแวง ควบคุมตัวเองไม่ได้ ยังคงมีการทำร้ายตนเองอย่างต่อเนื่อง แพทย์สั่งปรับยาแต่อาการไม่ดีขึ้นจึงขอส่งตัวเข้ามารับการรักษาที่โรงพยาบาลจิตเวชสระแก้วราชนครินทร์ :male-police-officer::skin-tone-2:
1.
ข้อมูลพื้นฐานของผู้ป่วย
1.1 •เพศชาย อายุ 32 ปี
•เชื้อชาติไทย
•สัญชาติไทย
•ศาสนาพุทธ
• จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
•สถานภาพโสด
•ปัจจุบันอาศัยอยู่กับบิดา มารดา และน้องชาย
•อาชีพเกษตรกร (ไร่ข้าวโพด อ้อย )และรับจ้างทำสวน มีรายได้จากการประกอบอาชีพ 1,0000 บาทต่อเดือน
•ปัจจุบันก่อนมา ยังคงประกอบอาชีพเกษตรกร
:man::skin-tone-2:
1.4
ประวัติครอบครัว (Family history)
:family:
ครอบครัวของผู้ป่วยเป็นลักษณะครอบครัวเดี่ยว มีจำนวนสมาชิกในครอบครัวทั้งหมด 4 คน ประกอบด้วยนายศักดิ์ดา (มีสถานภาพเป็นบิดา) นางมณี (มีสถานภาพเป็นมารดา ) นายยุทธนา (มีสถานภาพเป็นน้องชาย) โดยบิดามีลักษณะทางอารมณ์ที่ค่อนข้างใจเย็น แต่มารดามักจะเป็นคนที่มีอุปนิสัยเป็นคนชอบบ่นเล็กน้อย ลักษณะทางอารมณ์ของน้องชายเป็นคนใจร้อนแต่มีเหตุผล ลักษณะทางอารมณ์ของผู้ป่วย มีลักษณะนิสัยเป็นคนใจเย็นแต่โมโหร้าย มักจะหงุดหงิดให้กับบางอย่างที่ไม่ได้ดั่งใจ ในครอบครัวมีผู้ป่วยและบิดาดำรงหน้าที่เป็นหัวหน้าครอบครัว ครอบครัวมีลักษณะความเป็อยู่ที่ปานกลาง บุคคลในครอบครัวมีการช่วยเหลือเกื้อกูลกันดี
1.2
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต (History of past illness)
ปฏิเสธประวัติการเจ็บป่วยในอดีตที่มีผลทางจิต
:check: :
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
ปฏิเสธประวิตการเจ็บป่วยในครอบครัวที่มีผลต่ออาการทางจิต :<3:
การประเมิน MSE
:bear: :seedling:
1.ลักษณะทั่วไป
(General appearance)
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 32 ปี เดินมาเอง ลักษณะการเดินปกติ ไม่มีเดินเซ รูปร่างหน้าตาสมไว สีหน้าเรียบเฉยรูปร่างท้วม มีรอยสักรูปปลาคาฟบริเวณแขนข้างซ้าย มีรอยสักรูปมังกรบริเวณขาทั้งสองข้าง ผู้ป่วยแต่งกายด้วยชุดโรงพยาบาล มีความสุภาพ สะอาด และมีความเหมาะสมดี ผู้ป่วยการแสดงออกทางสีหน้าถึงความวิตกกังวล มีท่าทีมองซ้ายมองขวาอยู่ตลอดเวลาให้ความร่วมมือกับนักศึกษาดีแต่ยังคงมีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความระวังตัวด้วยการอยู่ไม่นิ่ง รวมถึงมีการมองซ้ายมองขวาอยู่ตลอดเวลาขณะการสนทนาผู้ป่วยจะมีสายตาทอดมองลงไปที่พื้นมีตาขวางตลอดเวลา :red_cross:
การแปลผล Abnormal general appearance
ผู้ป่วยมีอาการผิดปกติคือมีอาการหวาดระแวงมองซ้ายมองขวา กลัวว่าจะมีคนมาทำร้าย ตาขวาง สายตาทอดมองลงไปที่พื้นตลอดเวลา
ลักษณะการพูด
(Speech)
ผู้ป่วยสามารถพูดตอบคำถามได้ตรงประเด็น การพูดลักษณะที่ช้า จังหวะการพูดราบรื่นดีไม่มีติดขัด ไม่ติดอ่าง มีช่องว่างในการพูด แต่ยังคงมีลักษณะในการพูดมีการลังเลบางเวลา เสียงของการพูดมีลักษณะเป็นเสียงเดียว :red_cross: การแปลผล ไม่ปกติเนื่องจากผู้ป่วยยังคงพูดช้า ลังเล เนื่องจากเดิมผู้ป่วยเป็นคนพูดเร็ว คิดเร็ว ทำเร็ว
3.อารมณ์
(Mood and effect)
จากการใช้คำถามเกี่ยวกับในช่วงหนึ่งถึงสองสัปดาห์ที่ผ่านมาผู้ป่วยมีสีหน้าเรียบเฉยขณะตอบคำถาม มีการแสดงออกทางอารมณ์ที่สอดคล้อง กลับสถานการณ์ที่กล่าวถึง
:check: การแปลผล Normal mood and effect เนื่องจากผู้ป่วยการแสดงออกทางอารมณ์ที่สอดคล้องกับสถานการณ์
4.ความคิด (Thought)
ลักษณะการสนทนาเกี่ยวกับสาเหตุที่ทำให้ลักษณะการสนทนาเกี่ยวกับสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยต้องมาโรงพยาบาลผู้ป่วยมีการตอบคำถามสั้นๆทำให้นักศึกษาต้องมีการถามเรื่อยๆถามตลอดผู้ป่วยมีการตอบคำถามแบบเฉียดไปเฉียดมา อ้อมค้อมช้าลังเลที่จะพูด
:red_cross: แปลผล Abnormal thought ผิดปกติเนื่องจาก ผู้ป่วยยังคงการแสดงออกในรูปแบบความคิดที่ยังมีความลังเลขณะเล่าเนื้อหามีการตอบคำถามสั้นผู้ป่วยยังคงการแสดงออกในรูปแบบความคิดที่ยังมีความลังเล ขณะเล่าเนื้อหามีการตอบคำถามสั้นๆต้องมีการถามกระตุ้นตลอดเวลารวมถึงมีการพูดอ้อมค้อมเฉียดไปเฉียดมา
5.การรับรู้
(Perception)
ผู้ป่วยมีอาการหูแว่ว ซึ่งมีการได้ยินเป็นเสียงตัวเองพูดชี้นำให้ทำในสิ่งที่ผิด และมีอาการเห็นภาพหลอน โดยมีการเห็นเป็นลักษณะของสัตว์ประหลาดในร่างคน ผู้ป่วยจะเห็นเป็นลักษณะของพญาแมว ตะกวด จระเข้ที่จะกระโจนเข้ามาทำร้ายผู้ป่วยตลอดเวลา จึงเป็นสาเหตุให้ในบางครั้งผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมตนเองได้ จนทำให้เกิดภาพที่ผู้ป่วยตบตี เอาหลักโขลกกำแพงหรือการทำร้ายตนเองในที่สุด
:red_cross: แปลผล Hallucination ผู้ป่วยมีอาการหลอนทางหู เรียกว่า Hallucination และมีอาการประสาทหลอนทางตา เรียกว่า Visual Hallucination
6.การรับรู้เวลา สถานที่ บุคคล และสภาวนการณ์
(Orientation)
ผู้ป่วยสามารถบอก วัน เวลา สถานที่ บุคคล ได้ (วันอังคารที่ 6 สิงหาคม 2567)
รับรู้ว่าตนเองเข้ามารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาล
:check: Normal orientation
7.ความจำ
(Memory
8.1การประเมินความจำในอดีต “Remote memory ”
ผู้ป่วยสามารถบอกวันเกิดของตนเองได้ ซึ่งผู้ป่วยเกิดวันที่ 13 กรกฎาคม 2535 ปัจจุบันอายุ 32 ปี
8.2 การประเมินความจำปัจจุบัน
“Recent memory”
ผู้ป่วยสามารถตอบได้ว่า ในมื้อเช้าตนเองรับประทานข้าวต้มหมู
8.3การประเมินความจำเฉพาะหน้า
“Recall memory”
ผู้ป่วยสามารถบอกของ 3 อย่างที่นักศึกษาให้จำได้เมื่อเวลาผ่านไป 5 นาที ได้แก่ ดอกไม้ รถไฟ และเก้าอี้
:check: แปลผล Normal Memory :smile_cat:
8.ความสนใจและสมาธิ (Attention and Concentration)
ผู้ป่วยสามารถลบลบเลขได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง
โดยวิธีการเอา 100-7 ได้ ซึ่งได้ผลลัพธ์ ดังนี้ คือ
:coffin: 100-7=93
:golfer: 93-7=86
:label: 86-7 =79 เป็นต้น
:check: แปลผล Normal Attention and Concentration
9.ระดับเชาว์ปัญญา ลักษณะความคิด และความรอบรู้
(General knowledge and abstract thinking)
💁🏻♂️การถามถึงว่านายกคนปัจจุบัน
:ผู้ป่วยสามารถตอบได้ว่า
นายกคือ นายกเศรษฐา เงินดิจิทอล
🙋🏻การถามเกี่ยวกับการเปรียบเทียบโดยให้ Pt.เปรียบเทียบความเหมือน
ส้มกับกล้วยเหมือนกันอย่างไร
ผู้ป่วยตอบว่า
เป็นผลไม้ กินได้เหมือนกัน
โต๊ะกับเก้าอี้เหมือนกันอย่างไร
ผู้ป่วยตอบว่า ทำด้วยไม้ หรือบางชนิดทำด้วยโลหะเหมือนกัน
🧖🏻การถามถึงกการเปรียบเทียบความต่าง
เด็กกับคนแคระต่างกันอย่างไร
ผู้ป่วยตอบว่า เด็กคือตัวเล็กเพราะยังโตไม่สมบูรณ์ แต่คนแคระโตอายุมากขนาดไหนก็ไม่สูงขึ้น
กลางวันกับกลางคืนแตกต่างกันอย่างไร
ผู้ป่วยตอบว่า กลางวันมีแดด ทำงานได้ :partly_sunny: ส่วนกลางคืนไม่ได้ทำงาน ไม่มีแดด :full_moon:
:check:การแปลผล Normal knowledge and abstract thinking เนื่องจากผู้ป่วยสามารถตอบคำถามทั่วไป เปรียบเทียบความเหมือนความต่างของสิ่งต่างๆได้
10.การตัดสินใจ
(Judgment)
จากการประเมินการตัดสินใจ จากการประเมินสถานการณ์ สมมุติ 3 อย่าง
A
: คุณจะทำอย่างไร ถ้าคุณเดินไปเจอจดหมายจ่าหน้าซองครบ มีสแตมป์ติดเรียบร้อย
เก็บแล้วเอาไปหยอดตู้ไปรษณีย์
:love_letter:
B
: คุณจะทำอย่างไรถ้าคุณลืมกุญแจไว้ในรถแล้วดันปิดประตูล็อครถหมดแล้ว
ตามช่างมาเปิดให้
:poop:
:check:แปลผล Normal judgment
11.การหยั่งรู้ตนเอง
(Insight)
:check:แปลผล Partial insight ผู้ป่วยมีการรับรู้ความเจ็บป่วย สาเหตุการเจ็บป่วย รวมถึงการดูแลตนเองได้
12.แรงจูงใจ
(Motivation)
การประเมินสภาพจิตด้านแรงจูงใจ โดยการหาแรงผลักดันให้กับผู้ป่วย :<3:
:check: แปลผล Normal motivation ผู้ป่วยมีแรงผลักดันซึ่งเป็นหลานที่เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ผู้ป่วยอยากเริ่มต้นกับเป้าหมายใหม่ของชีวิต
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ 🩸🧫
ผล
CBC
ตรวจวันที่ 4 สิงหาคม 2567
🧺 Normal (wbc 9.82) *10^3 cell/mm
4.ยาที่ใช้ในการรักษา
:male-doctor::skin-tone-2:
4.1
Chorzapine /clopaze
กลุ่มยา
: Antypsychotic
ข้อบ่งใช้
:รักษาโรคจิตเภท
ผลข้างเคียง
: 1.ยาอาจมีผลต่อความผิดปกติของระบบเลือด Agranulocytosis
มีผลทำให้เกิด EPS คลื่นไส้ ปากแห้ง น้ำลายไหลมาก ตาพร่ามัว เหงื่อออกมาก ง่วงนอน คอแข็ง ท้องผูก ความดันโลหิตต่ำ เสี่ยงต่อการชัก
การพยาบาล
-ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยา Chozapine 100 mg tab รัยประทาน 2 เม็ด หลังอาหารเช้า และรับประทาน 5 เม็ดก่อนนอน ตามแผนการรักษาของแพทย์
Obs side effects ของ EPS
-ดูแลเจาะ CBC วันที่ 11 สิงหาคม 2567
บันทึกการพยาบาลหลังให้ยา
🐧🐧🐧🐧🐧🐧🐧🐧🐧🐧🐧
4.2.Fluphenazine/Fendec
กลุ่มยา
: Antipsychotic agent
การออกฤทธิ์: ออกฤทธิ์ที่สมองโดยทำให้สารสื่อประสาทในสมองมีความสมดุลมากขึ้น จึงทำให้อาการทางจิตประสาทลดน้อยลง
อาการไม่พึงประสงค์
: อาจทำให้เกิด EPS เช่น
-Acute dystopia ตาเหลือก ลิ้นแข็ง พูดไม่ชัด กลืนลำบาก คอบิด หลังแอ่น
-Akathisia กระสับกระส่าย อยู่ไม่นิ่ง ชอบขยับแขนขา เดินไปเดินมา หรือมีการเคลื่อนไหวตลอดเวลา
-Parkinsonism มือสั่น เคลื่อนไหวช้า การทรงตัวไม่มั่นคง กล้ามเนื้อแข็งเกร็งมีจังหวะการขยับกึก กั๊กๆตลอดเป็นช่วง
-Tardive dyskinesia เคี้ยวลิ้น ลิ้นม้วนไปม้วนมา ดูดปากหรือขมุบขมิบปาก
การพยาบาล
1.ดูแลให้ได้รับยา Fluphenazine 50 mg tab ตามแผนการรักษาของแพทย์
2.obs EPS ได้แก่ Acute dystopia, Akathisia , Parkinsonism และ Tardive dyskinesia
3.ดูแลเฝ้าระวังการเกิดอุบัติเหตุ หรือการพลัดตกหกล้ม
🐳🐳🐳🐳🐳🐳🐳🐳🐳🐳🐳
4.3.Haloperidal/Haldal
กลุ่มยา
: Typical Antipsychotic Drug
ออกฤทธิ์ยับยั้งการจับของ Dopamine ทำให้ Dopamine ลดลงในส่วนของ Mesolimbic ถูกยับยั้งจากการที่ Dopamine ลดลงทำให้กลุ่มอาการด้านบวกและด้านลบได้ **ยาจะออกฤทธิ์ต่อ Dopamine ในทุก Pathway เมื่อ Dopamine receptor ถูกยับยั้ง
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
1.อาจทำให้ผู้ป่วยเกิด Extrapiramidal symptoms:EPS เช่น
-Acute dystopia ตาเหลือก ลิ้นแข็ง พูดไม่ชัด คอบิด กลืนลำบาก
-Akathisia กระสับกระส่าย อยู่ไม่นิ่ง มักชอบขยับแขนขา เดินไปเดินมา อยู่ไม่นิ่ง
-Parkinsonism มื่อสั่น เคลื่อนไหวช้า การทรงตัวไม่มั่นคง กล้ามเนื้อแข็งเกร็งมีจังหวะการขยับกึกๆกักๆ เป็นช่วง
-Tardive dyskinesia เคี้ยวลิ้น ลิ้นม้วนไปม้วน ดูดปากขมุบขมิบปาก
การพยาบาล
1.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยา Harloperidal 5 mg tab ตามแผนการรักษาของแพทย์
2.obs Extrapiramidal symptoms: EPS เพื่อวางแผนให้การพยาบาลได้ทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ
3.ดูแลบันทึกการพยาบาลหลังให้ยาครบตามแผนการรักษา
🦖🦖🦖🦖🦖🦖🦖🦖🦖🦖🦖🦖
4.5 Trazodone/Trazo
กลุ่มยา
: Antidepressants
การออกฤทธิ์
ออกฤทธิ่เพิ่มระดับของ serotonin ในสมอง ซึ่งเป็นสารที่มีบทบาทในการควบคุมอารมณ์และการนอนกลับรวมถึงมีผลในการปิดกั้นตัวรับของ serotonin บางตัว ทำให้ช่วยลดอาการนอนไม่หลับได้ดี
อาการไม่พึงประสงค์
1.อ่อนเพลีย มึน ง่วงนอน
อาจมีอาการของ Extrapiramidal syndrome:EPS เช่น ลิ้นแข็ง กลืนลำบาก คอบิด หลังแอ่น กล้ามเนื้อเกร็งกระตุก กระสับการส่าย เคลื่อนไหวตลอดเวลา ดูดปาก เป็นต้น
การพยาบาล
1.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยา Trazodone ตามแผนการรักษาของแพทย์
2.ดูแล Obs เพลีย มึน ง่วง และเฝ้าระวังการเกิดอุบัติเหตุการพลัดตกหกล้ม
3.ดูแล Obs อาการของ EPS เช่น ลิ้นแข็ง กลืนลำบาก คอบิด หลังแอ่น กระสับกระส่าย กล้ามเนื้ออ่อนแรงเกร็งกระตุก ดูดปากห่อลิ้น เพื่อวางแผนให้การพยาบาลได้อย่างเหมาะสม
4.4 Sertraline/sertraline Sandoz
กลุ่มยา
Antidepressant กลุ่ม Selective serotonin reuptake (SSRIS)
การออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ยับยั้งการเก็บกลับ Reuptake ของสารสื่อประสาท Serotonin บริเวณปลายประสาท ทำให้ Serotonin ออกฤทธิ์ได้มากขึ้น (Serotonon มีบทบาทในการควบคุมความสมดุลของอารมณ์และจิตใจ)
อาการไม่พึงประสงค์
อาจทำให้มีอาการ ปากแห้ง ท้องเสีย ท้องอืด แน่นท้อง คลื่นไส้ มือสั่น ง่วงนอน
การพยาบาล
1.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยา Sertraline 50 mg tab ตามแผนการรักษาของแพทย์
2.ดูแล Obs อาการปากแห้ง แน่นท้องท้องอืด ท้องเสีย มือสั่น ง่วงนอน
Obs อาการมีไข้สูง หัวใจเต้นผิดปกติ เพื่อรายงานแพทย์และวางแผนให้การพยาบาลได้ทันท่วงที
4.บันทึกการพยาบาลหลังดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาครบตามแผนการรักษา
4.6 Risperidon/Risperdal
กลุ่มยา
Atipical Antipyschotic drug
การออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ปิดกรจับของ Serotonin และ Dopamine จึงเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษากลุ่มอาการทางด้านลบและด้านกระบวนการรู้คิด
อาการไม่พึงประสงค์
อาจทำให้เกิด EPS ได้แก่ อาการลิ้นแข็ง กลืนลำบาก คอบิก กระสับการส่าย เคลื่อนไหวตลอดเวลา กล้ามเนื้ออ่อนแรง กล้ามเนื้อมีอาการเกร็งกระตุก รวมถึงมีภาวะดูดปาก ห่อลิ้น เป็นต้น
การพยาบาล
1.ดูแลให้ได้รับยา Risperidone ตามแผนการรักษาของแพทย์
2.ดูแล Obs EPS ได้แก่อาการลิ้นแข็ง กลืนลำบาก คอบิด กระสับการส่าย เคลื่อนไหวตลอดเวลา กล้ามเนื้ออ่อนแรง กล้ามเนื้อมีอาการเกร็งกระตุก รวมถึงมีภาวะดูดปาก ห่อลิ้น เพื่อวางแผนให้การพยาบาลได้อย่างเหมาะสม
3.หากผู้ป่วยมีการใช้ยาแล้วพบอาการผิดปกติโดยไม่สามารถควบคุมอวัยวะส่วนต่างๆของร่างกายได้ เช่น ลิ้น ริมฝีปาก แขน ขา (Tardive dyskinesia) ให้หยุดการใช้ยาทันที
4.บันทึกการพยาบาล
4.10 Metformin/glucophage 500 mg
กลุ่มยา
Antihyperglycemia agen กลุ่ม Biguanide
การออกฤทธิ์
ลดการสร้างกลูโคสที่ตับ (hepatic gluconegenesis) เพิ่มการนำกลูโคสกลับเข้าสู่เซลล์
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย หายใจตื้น เป็นต้น
การพยาบาล
1.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยา Metformin 500 mg tab รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้งหลังอาหารเช้า
2.ดูแล Obs ภาวะ Hypoglycemia เช่น เหงื่อออก ตัวเย็น ใจสั่น อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน หน้ามืดคล้ายจะเป็นลม เพื่อวางแผนให้การพยาบาลได้อย่างเหมาะสม
4.9 Amlodipine/Norvas
กลุ่มยา
Calcium channel blockers
การออกฤทธิ์ของยา
ออกฤทธิ์ขยายหลอดเลือดแต่ไม่มีผลต่อการกดตัวปล่อยกระแสไฟฟ้าในหัวใจ SA node และ AV node ออกฤทธิ์ยัยยั้งกระบวนการ transmembrane (Negative inotropic) ของแคลเซียมไอออนที่เข้าไปในหัวใจและกล้ามเนื้อเรียบ เป็นผลทำให้เกิดการคลายกล้ามเนื้อเรียบที่หลอดเลือ
ด
อาการไม่พึงประสงค์
เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน หน้ามืดคล้ายนะเป็นลม
การพยาบาล
1.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยา Amlodipine 5 mg tab ตามแผนการรักษา
2.ดูแล Obs อาการ Hypotension เช่น กระหายน้ำ หน้ามืด เวียนศีรษะ รวมถึงอาการผืนขึ้นบริเวณลำตัว เช่น บริเวณใบหน้า แขน ขา เป็นต้น
3.บันทึกการพยาบาล
4.8 Simvastatin/zocor
กลุ่มยา
Statin
การออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ลดการผลิตคอเลสเตอรอลที่สร้างจากตับ
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ อาเจียน เวียนศีรษะ มวลท้อง ปวดกล้ามเนื้อ อ่อนเพลีย
การพยาบาล
1.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยา Simvastatin 20 mg tab รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
2.ดูแล Obs side effect เช่น อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน เวียนศีรษะ เป็นต้น
3.ทึกการพยาบาล
4.7 Trihexyphenidyl/Artrane Benzhexol
กลุ่มยา
: Anticholinergic drug
การออกฤทธิ์
: ออกฤทธิ์ปิดกั้นตัวรับ Acetylcholine ทำให้ Acetylcholine ไม่สามารถออกฤทธิ์ได้ ยาจะทำหน้าที่ไปลดปริมาณ Acetylcholine และเพิ่ม Dopamine เพื่อให้เกิดความสมดุล
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
อาการปากแห้ง มวลท้อง คลื่นไส้ อาเจียน
การพยาบาล
1.ไม่ควรใช้ยาในผู้ป่วย Gluacoma myasthenia Travis และผู้ป่วย prostatic hypertrophy
Obs side effect ที่อาจเกิดขึ้นได้แก่ อาการปากแห้ง มวลท้อง คลื่นไส้ อาเจียน
3.obs EPS เพื่อวางแผนให้การพยาบาลได้ทันท่วงที
4.บันทึกการพยาบาล
พยาธิสภาพ
🚔🦠
Paranoid schizophrenia F20.00
หมายถึง โรคจิตเภทชนิดหวาดระแวง , ความผิดปกติทางพฤติกรรมและจิตประสาทเนื่องจากการเสพสารกระตุ้น
ความหมายของโรคจิตเภท
โรคจิตเภท Schizophrenia
หมายถึง โรคที่เกิดความผิดปกติของสมองที่มีการแสดงออกทางด้านความคิด ( Though) ความรู้สึก (Perception) พฤติกรรม (Behavioral) โดยมีระดับความรุนแรงที่หลากหลาย ซึ่งส่งผลต่อเสียต่อการดำเนินชีวิต
จากกรณีศึกษา
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 32 ปี แพทย์วินิจฉัยโรคคือ F20.00 Paranoid Schizophrenia
C.C. หูแว่ว เห็นภาพหลอน หวาดระแวง ควบคุมตัวเองไม่ได้ ทำร้ายตัวเอง 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล
🔍พยาธิสภาพสรีรกลไกการของการเกิดโรค
โรคจิตเภทมีความสำคัญกับสารสื่อประสาทหลายชนิด โดยเพาะ Dopamine (DA)
🧫 Dopaminergic hypothesia
เป็นทฤษฎีที่อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างระดับของ Dopamine ที่ผิดปกติต่อการเกิดโรคจิตเภท โดยที่ Dopamine จะมีการทำงานในสภาวะปกติผ่าน Pathway
หลัก Mesolimbic trac มี Dapamine ที่หลั่งจาก Ventral tegmental area ไปกระตุ้นตัวรับ D2 ที่ lambic System ซึ่งมีผลช่วยควบคุมอารมณ์และพฤติกรรม การที่มี Dapamine ที่สูงขึ้นผิดปกติจะมีผลทำให้เกิดอาการด้านบวกของโรคจิตเภท เช่น อาหารหลงผิด หูแว่วและประสาทหลอน
สรูปได้ว่า ผู้ป่วยที่เป็นโรคจิตเภทนั้นเกิดจากการมีระดับ Dopamine ที่สูงขึ้นผิดปกติที่ Mesolimbic tract ส่งผลให้เกิดอาการด้านบวกของโรคจิตเภทเช่น อาการหลงผิด หูแว่ว และประสาทหลอนขึ้น
แน่ในขณะที่ Dopamineมีการหลั่งลดลงผิดปกติที่ Mesocortical trac จะส่งผลให้เกิดอาการทางด้านลบและสติปัญญาบกพร่อง
จากกรณีศึกษา
ผู้ป่วยชายไทยมีอาการของกลุ่มอาการทางด้านบวกคือ มีอาการหูแว่วได้ยินเป็นเสียงตัวเองพูดและมีอาการเห็นภาพหลอน เป็นภาพสัตว์ประหลาดที่กระโจนเข้ามาทำร้ายตนเอง🐧
การรักษา
:no_entry:
1.การรักษาด้วยยา
2.การรักษาด้วยจิตสังคม
3.การรักษาด้วยไฟฟ้า
จากกรณีศึกษา
ผู้ป่วยบายไทยได้รับการรักษาด้วยการใช้ยา
•Clozapine 100 mg tab
•Fluphenazine 25mg/ml
•sertraline 50 mg tab
•Trihexyphenidyl 2 mg tab
•risperidon 2 mg tab
และแพทย์ ให้การรักษาโดยการ Set ECT 6/6 ครั้ง Charge% energy ที่ 20%
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
👩🏻⚕️
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 1
1.มีพฤติกรรมรุนแรงที่อาจเป็นอันตรายต่อตนเองและผู้อื่นเนื่องจากตอบสนองต่ออาการหูแว่ว (Auditory hallucination)
(วันที่ 6 สิงหาคม 2567)
“ข้อมูลสนับสนุน”
S: ผู้ป่วยเล่าว่าตนเอง มีอาการหูแว่ว ได้ยินเป็นเสียงของตนเองชี้นำให้ทำในสิ่งที่ไม่ดี บางครั้งก็สั่งให้เอาหัวโขลกกำแพง ตบตีตัวเองบ้าง ซึ่งผมควบคุมตัวเองไม่ได้
O: ผู้ป่วยมีอาการหวาดระเเวง ตาขวาง สายตามองทอดต่ำลงไปที่พื้นตลอดเวลา ชอบมองซ้ายมองขวา
O: ประเมิน CQI ได้ 6 คะแนน
O:ผู้ป่วยมีประวัติเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลจิตเวชสระแก้วราชนครินทร์เมื่อประมาณ 10 ปีที่ผ่านมา
วิเคราะห์ข้อวินิจฉัย
จากกรณีศึกษาผู้ป่วนได้รับการวินิจฉัยโรคเป็น Paranoid schizophrenia คือโรคจิตเภทชนิดหวาดระแวง ในผู้ป่วยที่เป็น Schizophrenia มักจะเกิดความผิดปกติของสารในสมองคือ Dapamine ซึ่งมีการหลั่งออกมาเป็นจำนวนที่มากกว่าปกติ และอีกหนึ่งทางคือสารในสมองที่ชื่อว่า Serotonin และ GABA จะต่ำลงซึ่งเมื่อ dopamine มีการหลั่งออกมามากและไม่สามารถนำออกไปได้ จึงส่งผลให้ผู้ป่วยเกิดกลุ่มอาการที่มีความผิดปกติทางบวกขึ้น ได้แก่อาการหลงผิด หูแว่ว และประสาทหลอน
เป้าประสงค์ทางการพยาบาล
ผู้ป่วยไม่มีพฤติกรรมรุนแรงทำร้ายผู้อื่นและทำร้ายตนเอง
1 more item...
การพยาบาล
1.สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยแบบ one to one เพื่อการบำบัดให้ผู้ป่วยเกิดความไว้วางใจในตัวนักศึกษารวมถึงประเมินท่าทาง คำพูด และการกระทำต่างๆของผู้ป่วยที่อาจเป็นอันตรายต่อผู้ป่วยและบุคคลอื่นๆ เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีให้ผู้ป่วยเกิดความไว้วางใจรวมถึงเพื่อประเมินอาการและพฤติกรรมเพื่อให้การวางแผนทางการพยาบาลในการช่วยเหลือหรือสามารถดูแลผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม
2.สังเกตและประเมินพฤติกรรมของผู้ป่วยท่าทาง คำพูด การกระทำต่างๆ ที่เป็นอาการอันตรายต่อผู้อื่น ได้แก่
-การแสดงออก มีสีหน้าบึ้งตึง โกรธ ท่าทางไม่พอใจ ตาขวางไม่เป็นมิตร
-การเคลื่อนไหวการกระทำกระวนกระวาย ไม่นิ่ง กระแทกหรือกระทั้นด้วยความรุนแรง หยุดการ
กระทำที่ทำอยู่อย่างเห็นทันทีทันควัน
-การแสดงออกทางคำพูด เช่น เงียบเฉยผิดปกติ โต้ตอบด้วยเสียงห้วนๆ พูดจาก้าวร้าว เพื่อประเมินอาการและพฤติกรรมของผู้ป่วยและสามารถให้การพยาบาลได้อย่างเหมาะสม
เข้าใจและยอมรับพฤติกรรมของผู้ป่วยโดยการเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยแสดวความคิด ความรู้สึก โดยพยาบาลไม่ตัดสินว่าถูกหรือผิด ดีหรือเลว ไม่โต้แย้ง ไม่คล้อยตาม ติดต่อพูดคุยกับผู้ป่วยด้วยความใจเย็น ไม่คุกคาม หรือพยายามชี้แจงเหตุผลหักล้างผู้ป่วยให้เปลี่ยนความคิด เพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า และได้ระบายความรู้สึกที่เผชิญอยู่ออกมา
4.เรียกชื่อผู้ป่วยให้ถูกต้องและบอกว่าผู้ป่วยว่าเป็นใคร ตอนนี้อยู่ที่ไหนทุกครั้งที่สนทนากับผู้ป่วยและให้ข้อมูลที่เป็นจริงกับผู้ป่วยทุกครั้งที่มีโอกาสเพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่าและได้รับรู้ในความเป็นจริงที่เกี่ยว วัน เวลา สถานที่ ได้ถูกต้อง
5.ส่งเสริมและกระตุ้นให้ผู้ป่วยทำกิจวัตรประจำวันด้วยตัวเองโดยจัดให้มีเจ้าหน้าที่ดูแลเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองได้และเป็นการเบี่ยงเบนความคิดทำร้ายตนเองและผู้และอื่น
6.ส่งเสริมจัดให้ผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มบำบัด เช่น กลุ่มฝึกทักษะการดูแลตนเอง กลุ่มออกกำลังกาย เพื่อให้ผู้ป่วยได้ผ่อนคลายความเครียดและเรียนรู้ที่นะอยู่ร่วมกับผู้อื่นในการทำกิจกรรมกลุ่มบำบัด
7.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาให้ครบตามแผนการรักษาของแพทย์พร้อมสังเกตอาการข้างเคียงของยา เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์และไม่ได้รับอันตรายจากผลข้างเคียงของยา
8.แจ้งให้ผู้ป่วยทราบเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงกิจกรรมภายในหอผู้ป่วยเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถรับรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆได้
9.เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับเพื่อนผู้ป่วยด้วยกันเอง
10.หากผู้ป่วยมีพฤติกรรมก้าวร้าวจะทำร้ายผู้ป่วยอื่นหรือตนเอง หากมีการพูดคุยเจรจาด้วยเหตุผลและรับประทานแล้วอาการไม่สงบลง พิจารณาผูกมัด restrain ทันทีรวมถึงให้การพยาบาลขณะผูกยึดอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกันอตรายที่อาจเกิดขึ้น
11.จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบลดสิ่งกระตุ้นที่เป็นสาเหตุให้เกิดหวาดระแวงหรือกลัวมากขึ้นเพื่อป้องกันการกระตุ้นที่อาจทำให้เกิดพฤติกรรมหวาดระแวงและพฤติกรรมก้าวร้าว
12.เตรียมเจ้าหน้าที่ให้เพียงพอต่อการดูแลผู้ป่วยเพื่อป้องกันอันตรายที่จากพฤติกรรมรุนแรงของผู้ป่วยได้ทันท่วงที
การประเมินผล
วันที่ 7 สิงหาคม 2567
1.ผู้ป่วยไม่มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงในการทำร้ายตนเองหรือผู้อื่น
2.ขณะทำการสนทนาผู้ป่วยไม่มีพฤติกรรมก้าวร้าว กัดฟัน กำหมัด เกร็งแขน เกร็งตัว
3.ผู้ป่วยไม่มีอาการกระวนกระวายแต่ยังคงมีพฤติกรรมมองซ้ายมองขวาขณะทำการสนาทนา
4.ผู้ป่วยสามารถควบคุมตนเองได้
5.ประเมิน CGI = 3 คะแนน
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 3
3.มีภาวะแทรกซ้อนหลังจากการรักษาด้วยไฟฟ้า Electroconvution therapy:ECT
(วันที่ 7 สิงหาคม 2567)
ข้อมูลสนับสนุน
S:ผู้ป่วยเล่าว่า “หลังจากได้รับการรักษาด้วยไฟฟ้าผู้ป่วยมีอาการเจ็บและปวดเมื่อยตามลำตัว
S:ผู้ป่วยเล่าว่าตนเองมักจะรู้สึกมีอาการปวดแขนทุกครั้งหลังจากการรักษาโดยปวดบริเวณแขนทั้ง 2 ข้าง
O: แพทย์วินิจฉัยโรคเป็น paranoid schizophrenia
o:ผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยไฟฟ้า วันที่ 5 สิงหาคม 2567 ครั้งที่ 1 ได้รับการรักษาด้วยไฟฟ้า charge % energy 20 propodol 100 mg succinyl 60 mg ไม่มีอาการชักยาว มีอาการผุดลุกผุดนั่ง สับสน
วันที่ 7 สิงหาคมคม (ครั้งที่ 2/2) chart % energy 25 % ให้ propofal 100 mg succinctly 60 mg. มีผุดลุกผุดนั่ง น้ำลายยืด ประเมิน orientation สามารถบอกวัน เวลา สถานที่ และบุคคลได้
วิเคราะห์ข้อวินิจฉัย
จากกรณีศึกษาผู้ป่วยชายไทย อายุ 32 ปี ได้รับการวินิจฉัยเป็น F20.00 Paranoiad schizophrenia ผู้ป่วยมาด้วยอาการหวาดระแวง หูแว่ว เห็นภาพหลอน ทำร้ายตนเอง แพทย์จึงให้การรักษาโดยการรักษาด้วยไฟฟ้า Electroconvution therapy:ECT set 6/6 ครั้ง ซึ่งผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยไฟฟ้าอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆหลังจากการรักษาได้เช่น สับสน มึนงง ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ผุดลุกผุดนั่ง กระสับกระส่าย และอาจเกิดภาวะหยุดหายใจนานได้ ดังนั้นในผู้ป่วยรายนี้จึงจำเป็นที่จะต้องได้รับการเฝ้าระวังและการดูแลอย่างเหมาะสมจนบรรลุขั้นตอนของการรักษา ตั้งแต่ระยะก่อนการรักษา ขณะการรักษา และหลังจากการรักษา
เป้าประสงค์ทางการพยาบาล
ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการรักษาด้วยไฟฟ้า
1 more item...
การพยาบาล
ระยะก่อนให้การรักษา
สอบถามเช็คชื่อผู้ป่วย และแจ้งให้ผู้ป่วยงดน้ำงดอาหาร NPO อย่างน้อย 8-10 ชั่วโมง เพื่อป้องกันการอาเจียนหลังจากการรักษา
สอบถามและเช็คชื่อผู้ป่วยเรื่องการถ่ายอุจจาระ และปัสสาวะก่อนไปทำการรักษาด้วยไฟฟ้าให้เรียบร้อย เนื่องจากการรักษาด้วยไฟฟ้าและการได้รับยาคลายกล้ามเนื้อก่อนทำ มีผลทำให้การทำหน้าที่ของกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องลดลง ส่งผลให้ผู้ป่วยไม่สามารถกลั้นอุจจาระและปัสสาวะได้ เพื่อป้องกันภาวะที่ไม่สามารถควบคุมหรือกลั้นอุจจาระและปัสสาวะขณะให้การรักษาแก่ผู้ป่วยได้
สอบถามตรวจเช็คผู้ป่วยหากมีฟันปลอมให้ถอดออกก่อนการไปทำการรักษาด้วยไฟฟ้าเพื่อป้องกันการอุดกลั้นของระบบทางเดินหายใจ
4.ประเมินสัญญาณชีพ ว่ามีความผิดปกติหรือไม่โดยเฉพาะความดันโลหิต ก่อนส่งไปทำการรักษาด้วยไฟฟ้า ECT อย่างน้อย 1 ชั่วโมง เพื่อประเมินความผิดปกติและสามารถให้การพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.ตรวจเช็คเอกสารเรื่องการเซ็นต์ให้การยินยอมรับการรักษาด้วยไฟฟ้าจากผู้ป่วยหรือญาติ เพื่อเป็นการรับรองการรักษาของผู้ป่วย และะเพื่อป้องกันการถูกฟ้องร้อง ดำเนินคดีในกรณีเหตุที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น
6.ตรวจเช็คผลตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องว่าปกติหรือไม่ เช่นผลเลือด ผลตรวจคลื่นสมอง Electroencephalogram : EEG เพื่อประเมินความผิดปกติก่อนการวางแผนให้การรักษาด้วยไฟฟ้า
7.ตรวจเช็คผู้ป่วยให้ได้รับยาก่อนการทำการรักษาซึ่งเป็นกลุ่มยาคลายกล้ามเนื้อ และกลุ่มยาในผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัว ในผู้ป่วยรายนี้มีโรคประจำตัวเป็น Hypertension ,DLD , DM จึงต้องดูแลให้ผู้ป่วยรับประทานยา Amlodipine 5 mg 2 tab ,Simvastatin 20 mg 1 tab และ metformin 500 mg 1 tab 6 ชั่วโมงก่อนการนำไปรับการรักษาด้วยไฟฟ้า และดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาคลายกล้ามเนื้ออย่างน้อย 30 นาทีก่อนการรักษาเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นหลังจากการรักษาจึงต้องให้ผู้ป่วยได้รับประทานยาในผู้ที่มีโรคประจำตัว
ระยะการรักษา
8.ดูแลจัดท่าให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยไฟฟ้า จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนหงายโดยวางหมอนรองช่วงที่เป็นข้อต่างๆของร่างกาย เช่น ตรงบริเวณบั้นเอว คอ และข้อเท้า เพื่อป้องกันการเคลื่อนไหวจากการชัก (unmodified)
9.ใช้เจลนำสื่อไฟฟ้า Electro jelly ทาขั้วไฟฟ้า Electrode ก่อนนำไปวางที่ขมับของผู้ป่วยเพื่อป้องกันการเป็นฉนวนไฟฟ้าโดยการวางขั้วไฟฟ้า ซึ่งมี 2 ลักษณะคือ การวางแบบสองข้าง Bilateral electrode และการวางแบบข้างเดียว unilateral electrode เพื่อป้องกันดารเป็นฉนวนไฟฟ้าขณะทำการรักษาด้วยการใช้ไฟฟ้า
10.ใส่แผ่ยางในปาก Mouth gag เพื่อป้องกันการกัดลิ้นของผู้ป่วยในช่วงชักหลังจากที่ปล่อยกระแสไฟฟ้า
11.ประคับประครองข้อต่างๆของผู้ป่วยเพื่อป้องกันหารหลุดของข้อ หรือข้อเคลื่อนที่มีการชักหลังจากการปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าไปในสมอง โดยการชักมี 2 ระยะ คือ การชักครั้งแรก Tonic phase และการชักครั้งที่ 2 Colonic phase ซึ่งเป็นช่วงที่พยาบาลต้องให้การดูแลประคับประคองข้อต่างๆเพื่อป้องกันการบาดเจ็บและการหลุดเลื่อนของข้อขณะชักหลังจากการปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าไปในสมอง
ระยะหลังการรักษา
12.ดูแลหลังจากผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยไฟฟ้าทันที โดยการจัดท่าให้ผู้ป่วยนอนตะแคงรวมถึงแจ้งให้ผู้ป่วยทราบเป็นระยะๆและให้การพยาบาลโดยการยึดผู้ป่วยไว้กับเตียง รวมถึงทำการตรวจวัดสัญญาณชีพของผู้ป่วยเพื่อประเมินความผิดปกติ
14.เมื่อผู้ป่วยรู้สึกตัวเต็มที่ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับประทานอาหาร และน้ำโดยเริ่มจากการให้จิบน้ำก่อนเพื่อทดสอบความสามารถในการกลืน และป้องกันการสำลัก
15.ประเมิน orientation เกี้ยวกับวัน เวลา สถานที่ และบคคล รวมถึงดูแลให้คำแนะนำเกี่ยวกัลผลข้างเคียงของการระกษาด้วยไฟฟ้า อาการปวดเมื่อตามตัวที่อาจพบได้ โดยเฉพาะหลัง ความจำเสียชั่วคราวเป็นต้น
(ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์, 2560)
การประเมินผล
วันที่ 7 สิงหาคม 2567
การประเมินผลก่อนทำ
1.ผู้ป่วยไม่มีภาวะความดันสูงและภาวะความดันต่ำ จากการประเมินสัญญาณชีพ Vital signs เวลา 08.10 น.
PR: 90 bpm/min
BP:11581 nnHg
RR:20bpm/min
SPO2:99%
EKG : normal sinus rythm
2.ระยะขณะการรักษา
เวลา 09.17 น.
PR: 90 bpm/min
BP: 117/82 mmHg
RR= 22 bpm/min
O2sat: 99%
EKG: Normal sinus rythm
3.ระยะหลังชัก
เวลา 09.22 น.
PR: 89 bpm/min
BP: 124/88 mmHG
O2: 99%
-ผู้ป่วยไม่มีอาการชักยาว
-ผู้ป่วยไม่มีภาวะความดันสูง ไม่มีภาวะข้อเคลื่อน ข้อหลุด
*มีภาวะหยุดหายใจไป 15 วินาที หลังจากระยะการรักษาด้วยไฟฟ้า
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจน mask with bag ตามแผนการักษาหลังผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยไฟฟ้า
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอหลังจากและป้องกันภาวะ Apnea
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 2
2.มีปฏิสัมพันธ์บกพร่องกับบุคคลอื่นเนื่องจากตอบสนองต่ออาการประสาทหลอนทางสายตา
(วันที่ 6 สิงหาคม 2567)
ข้อมูลสนับสนุน
S:ผู้ป่วยให้ข้อมูลโดยเล่าว่า “สัตว์ประลาดที่ตนเองเห็นจะเข้ามาทำร้ายตนตลอดเวลา”
S:ผู้ป่วยเล่าว่า ตนเองมีความกลัวว่าหากมีเพื่อนหรือบุคคลอื่นเข้ามาใกล้ตนเองจะแปลงร่างเป็นสัตว์ประหลาดแล้วกระโจนเข้ามาทำร้ายตนเอง
O:จากการสังเกตผู้ป่วยมีพฤติกรรมแยกตัว ไม่พูดจากับเพื่อน มีสีหน้าท่าทางหวาดระแวง หันซ้ายหันขวาและแสดงท่าทางที่ไม่ได้วางใจกับบุคคลรอบข้าง
วิเคราะห์ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
จากกรณีศึกษา ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยเป็น F20.00 Paranoid Schizophrenia คือโรคจิตเภทชนิดหวาดระแวง ซึ่งในส่วนใหญ่ผู้ป่วยจิตเภทจะมีกาีหลั่สารสื่อประสาทที่ผิดปกติ คือ Dopamine ที่เพิ่มสูงขึ้น Serotonin และ มี GABA ที่ต่ำลง จึงทำให้เกิดความไม่สมดุลของสมองและทำให้ผู้ป่วยโรคจิตเภทมีอาการทางบวกคือ อาการหลงผิด หูแว่ว เห็นภาพหลอน โดยในผู้ป่วยรายนี้มีการตอบสนองความผิดปกติเกี่ยวกับการมองเห็น (ภาพหลอน) จึงตำเป็นต้องมีการสร้างสัมพันธภาพและการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นเพื่อให้ผู้ป่วยมีอาการหวาดระแวงลดลงและมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นมากขึ้น
เป้าประสงค์
1.ผู้ป่วยมีอาการหวาดระแวงงลดลง
2.ผู้ป่วยมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นมากขึ้น
1 more item...
การพยาบาล
1.สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยแบบ one to one relationship อย่างสม่ำเสมอเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความไว้วางใจและยอมรับว่านักศึกษาพยาบาลเป็นที่ปรึกษาให้กับผู้ป่วยได้
3.ให้การพยาบาลแก่ผู้ป่วยอย่างเปิดเผยตรงไปตรงมา ไม่แสดงกิริยาที่อาจทำให้ผู้ป่วยเกิดความสงสัยหรือไม่มั่นใยเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความมั่นใจและกล้าพูดคุยมากขึ้น
2.แสดงถึงการยอมรับผู้ป่วยเกี่ยวกับอาการทางจิตเภท โดยการเรียกชื่อได้ถูกต้อง การทักทายผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอ รับฟังเรื่องราวอย่างตั้งใจ เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความไว้วางใจและเพื่อเป็นการเสริมคุณค่าในตัวเองให้กับผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึกที่ตนเองเผชิญอยู่ออกมา
4.เสนอตัวในการช่วยเหลือผู้ป่วยโดยการนั่งรับฟังปัญหาหรือเหตุการณ์ที่ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึก เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความคุ้นเคยและเกิดความไว้วางใจ
5.ให้การพยาบาลด้วยการใช้เทคนิค Presenting reality ในขณะการสนทนา เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจถึงอาการของความเจ็บป่วยของตนเองที่อาจเกิดขึ้นและเพื่อให้ผู้ป่วยมีอาการหวาดระแวงลดลง
6.กระตุ้นและส่งเสริมให้ผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมการกลุ่มบำบัด เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดประสบการณ์ที่ดีในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น
7.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยา Abtipsychotic Benzodiazepine ตามแผนการรักษาของแพทย์เพื่อช่วยลดอาการหวาดระแวงให้กับผู้ป่วย
8.ประเมินอาการหวาดระแวงของผู้ป่วยเป็นระยะๆเพื่อประเมินอาการในการให้การพยาบาลได้อย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ
การประเมินผล
วันที่ 07 สิงหาคม 2567
1.ผู้ป่วยมีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น มีการพูดคุยกับผู้ป่วยอื่นมากขึ้น
2.ผู้ป่วยสามารถพูดคุยรู้เรื่อง ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมกลุ่มบำบัดได้ดี มีส่วนร่วมในการตอบคำถาม
3.ผู้ป่วยไม่มีพฤติกรรมแยกตัวนอนคนเดียว สามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองได้
4.ผู้ป่วยไม่มีพฤติกรรมก้าวร้าว กำหมัด หรือกระวนกระวาย
ข้อวินิจฉัยข้อที่4
4.มีแนวโน้มกลับไปใช่สารเสพติดซ้ำเนื่องจากขาดทักษะปฏิเสธในการจัดการกับปัญหาอย่างเหมาะสม
(7 สิงหาคม 2567)
ข้อมูลสนับสนุน
S:ผู้ป่วยเล่าว่า “ตอนนั้นผมเครียดจากการทำงาน ผมเลยกลับไปใช้สารเสพติดอีกครั้ง”
S:ผู้ป่วยเล่าว่าตนเองได้มีการเสพยาเสพติด เพราะเพื่อนบวนรวมถึงตนเองอยากลองด้วยจึงได้ทำการเสพยาจนถึงปัจจุบันก่อนมาโรงพยาบาล
S:ผู้ป่วยเล่าว่า เวลาที่ตนเองจะกลับมาเสพยาบ้าจะมีเพื่อนคอยชวน แนะนำ และคอยกระตุ้นบ่อยครั้งใให้ลงหรือกลับมาใช้สารเสพติดใหม่ๆ เช่นยาบ้า ยาไอซ์
S:ผู้ป่วยเล่าว่าเวลาที่ตนเองได้เสพยาก็จะมีแรงในการทำงาน ไม่เหนื่อย ตนจึงขาดยาไม่ได้ และได้ใช้ยาบ้าเรื่อยๆมาจาก 1 เม็ด ก็กลายเป็น 2 เม็ดต่อวันไปเรื่อยๆ
O:ผู้ป่วยมีประวัติการใบ้สารเสพติดนาน 17 ปี (โดยใบ้เป็นสารเสพติดจำพวก ยาบ้า ยาไอซ์)
วิเคราะห์ข้อวินิจฉัย
จากกรณีศึกษาผู้ป่วยชายไทย อายุ 32 ปี มีประวัติการใบ้สารเสพติดเป็นเวลานานกว่า 17 ปี ซึ่งสาเหตุเกิดจากการถูกชักชวนและความอยากรู้อยากลองของตนเองรวมถึงความเชื่อที่ไม่ถูกต้อง ดังนั้นในผู้ป่วนรายนี้จึงจำเป็นที่จะต้องได้รับการให้คำแนะนำต่างๆ เช่น การปฏิเสธ รวมถึงการสร้างเป้าหมายให้กับตนเอง เพื่อให้ผู้ป่วยมีเป้าหมายในการเลิกใช้สารเสพติดอย่างเด็ดขาด
เป้าประสงค์
เพื่อป้องกันการกลับไปใช้สารเสพติดซ้ำ
1 more item...
การพยาบาล
1.สร้างสัมพักับผู้ป่วยแบบ one to one เพื่อประเมินสภาพผู้ป่วยก่อนกลับบ้าน เพื่อให้ผู้ป่วยได้รู้จักการปรับตัวได้ถูกต้อง
2.เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึกเกี่ยวกับยาเสะติดและสาเหตุที่ใช้ยาเสพติด เพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาร่วมกับผู้ป่วย
3.ดูแลให้คำแนะนำและสะท้อนให้ผู้ป่วยเห็นถึงผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับตนเองของการใช้สารเสพ เช่น มีพฤติกรรมก้าวร้าว ทำลายสิ่งของ หงุดหงด ควบคุมอารมณ์ของตนเองไม่ได้ หูแว่ว เห็นภาพหลอน หลงผิด เป็นต้น
4.ดูแลให้คำแนะนำเกี่ยวกับอาการจากการใช้สารเสพติด เช่น มีความคิดเลื่อนลอย สับสน อ่อนไหว ไม่สามารถควบคุมตนเองได้ และอาจแสดงอาการที่ผิดแปลกเนื่องจากการรับรู้ผิดปกติ เพื่อให้ผู้ป่วยรับรู้ถึงอาการของการใช้สารเสพติดและสามารถตระหนักถึงโทษและของการใช้สารเสพติดได้
5.แนะนำส่งเสริมให้ผู้ป่วยกำหนดเป้าหมายของชีวิตในการเลิกใช้สารเสพติด เพื่อให้ผู้ป่วยมีเป้าหมายในการเลิกใช้สารเสพติดและตั้งในที่จะทำเป้าหมายนั้นให้เป็นจริง
6.ส่งเสริมดูแลจัดให้ผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม Schizophrenia จากการใช้สารเสพติดและเเลกเปลี่ยนความความรู้ เพื่อให้ผู้ป่วยตระหนักถึงโทษของการใช้สารเสพติดและไม่กลับไปใช้สารเสพติดซ้ำ
7.ส่งเสริมและสอนทักษะการปฏิเสธจากการถูกชักชวนให้กลับไปใช้สารเสพติด เช่น
7.1 เมื่อมีเพื่อนชวนให้ปฏิเสธโดยการเบี่ยงความสนใจ เช่น ไม่ว่างเลย หรือมีธุระต้องรีบไปต่อ
7.2 หลีกเลี่ยงการอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เป็นแหล่งมั่วสุมและมีการใช้สารเสพติด
7.3 มุ่งมั่น ตั้งใจ ไม่นึกถึงและไม่กลับไปใช้สารเสพติดซ้ำ เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดการวางแผนเมื่อตนเองกำลังเผชิญปัญหาจากการถูกชักชวนให้กลับไปใช้สารเสพติดได้
(ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์,2560)
8.ให้คำแนะนำและผลักดันให้ผู้ป่วยคนหาบุคคลหรือแหล่งที่พึ่งพา การช่วยเหลือ และการดูแลให้เป้าหมายสำเร็จ เพื่อให้ผู้ป่วยมีแรงผลักดันรวมถึงมีกำลังใจในการทำเป้าหมายของการเลิกใช้สารเสพติดสำเร็จ
การประเมินผล
วันที่ 08 สิงหาคม 2567
1.ผู้ป่วยไม่มีพฤติกรรมในการกลับไปใข้สารเสพติดซ้ำ
2.ผู้ป่วยสามารถบอกโทษของการใช้สารเสพติดที่เป็นผลเสียต่อตนเองได้ โดยเล่าว่า “การเสพยามันทำให้ผมมีแรงก็จริงแต่มันทำให้ผมต้องเสียสุขภาพ ทำให้ผมหูแว่ว เห็นภาพหลอน และต้องทำร้ายตนเอง”
3.ผู้ป่วยสามารถบอกวิธีการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการกลับไปใช้สารเสพติดซ้ำได้ โดยเล่าว่า
ถ้ามีปัญหาจะหันหน้าคุยกับคนที่บ้านมากขึ้น
แผนการรักษาของแพทย์ 👩🏻⚕️
วันที่ 25 กรกฎาคม 67
🎪 order for one day
-Admit
🩰 order for continuous
-low salf .low fat diet
-record vital signs
-Haloperidol 5 mg pin q 6 hr.
-Risperidon 2 mg 2*6 q hr
Clozapine prn 100 mg
Ben 5 mg
-sertraline 50 mg 1*1 hr
-Fendec 60 mg q4 hr
simvas 20 mg 1*1 ac
metformin 500 mg 1*1 ac
amlodipine 5 mg 2*1 pc
วันที่ 5 สิงหาคม 2567
Set ECT 6/6 ครั้ง
🚘 วันที่ทำการประเมิน 5 ส.ค. 2567
V/S T:36.5 C
P:100bpm/min
BP:139/91 mmHg
RR:20 bpm/min
⛹🏻 นน. 80 กก สส.165 ซ.ม
BMI 29.385 โรคอ้วนระดับ 1
D-METHOD
D:Diagnosis ให้ความรู้ เรื่องโรค อธิบายว่าสาเหตุที่ผู้ป่วยต้องมารักษาที่โรงพยาบาลครั้งนี้ การใช้สารเสพติดในปริมาณมากและการใช้เป็นเวลานาน ทำให้เกิดอาการทางจิตเวช
M:Medicine แนะนำการใช้ยาที่ผู้ป่วยได้รับยาอย่างละเอียด ได้แก่ สรรพคุณ ขนาดของยา วิธีการใช้ยา ข้อควรระวังในการใช้ยา ตลอดจนการสังเกตภาวะแทรกซ้อนรวมถึงข้อหามของการใช้ยา
E:Environment แนะนำเกี่ยวกับการจัดการการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้นที่อาจทำให้กลับไปใช้ยา
T:Treatment แนะนำทักษะที่เป็นไปตามแผนการรักษานาเสพติด รวมถึงการเฝ้าระวัง การเฝ้าสังเกตการอาการของตนเอง การมาปรึกษาและพบแพทย์ก่อนนัด
H:Health ส่งเสริมการฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจตลอดจนการป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆจากยาเสพติด
O:out patient แนะนำเรื่องการมาตรวจตามนัด การติดต่อขอความช่วยเหลือจากสถานบริการใกล้บ้าน
D:Diet แนะนำการเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมต่อโรค
-
นางสาววีราภรณ์ ชาวอบทม
รหัสนักศึกษา 66414991047
นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 👩🏻⚕️