Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) - Coggle Diagram
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)
ประวัติความเป็นมาของปัญญาประดิษฐ์
เริ่มมีการกล่สวถึงมาตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 20 ในตอนนั้นสาขาของ AI เกิดขึ้นเพื่อตอบสนองต่อแนวคิดที่ว่า เราสามารถสร้างเครื่องจักรเพื่อเลียนแบบ หรือจำลองการทำงานของมนุษย์ได้
แนวคิดของการสร้างสิ่งมีชีวิตเทียมที่มีความสามารถเหมือนมนุษย์มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ การพัฒนาสมัยใหม่ของ AI เริ่มต้นด้วยแนวคิดหลักและความก้าวหน้าในทศวรรษที่ 1940 และ 1950
กำเนิดคำว่า ปัญญาประดิษฐ์ (AI)
นิยามของปัญญาประดิษฐ์
นิยามของปัญญาประดิษฐ์ได้แบ่งออกเป็น4ประเภทในมุมมอง 2 มิติ ได้แก่ { นิยามที่เน้นระบบที่เลียนแบบมนุษย์กลับนิยามที่เน้นระบบที่มีเหตุผล นิยามที่เน้นความคิดเป็นหลักกับนิยามที่เน้นการกระทำนิยามที่เน้นความคิดเป็นหลักกับนิยามที่เน้นการกระทำเป็นหลัก }
ระบบที่กระทำเหมือนมนุษย์ ( Systems that act like humans )
ระบบที่คิดอย่างนี้เหตุผล ( Systems that think rationally)
ระบบที่คิดเหมือนมนุษย์ (Systems that think like humans)
ระบบที่กระทำอย่างมีเหตุผล ( Systems that act rationally )
ใน ค.ศ. 1956 จอห์น แม็คคาร์ที ได้ให้คำนิยามของปัญญาประดิษฐ์ว่า « เป็นศาสตร์ทางด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
ประเภทของปัญญาประดิษฐ์
ปัญญาประดิษฐ์ทั่วไป (Artificial General Intelligence - AGI) : AGI มีเป้าหมายเพื่อให้มีสติปัญญาและความสามารถในการรับรู้ในระดับเดียวกับมนุษย์ หมายถึงระบบ AI ที่สามารถเข้าใจ เรียนรู้ และนำความรู้ไปใช้ในโดเมนต่างๆ AGI จะมีความสามารถในการคิดในเชิงนามธรรม ให้เหตุผล วางแผน แก้ปัญหา และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ต่างๆ
ปัญญาประดิษฐ์แบบเข้ม (Strong AI) ASI เป็นรูปแบบสมมุติฐานของ AI ที่เหนือกว่าสติปัญญาของมนุษย์ในแทบทุกด้าน มันแสดงถึงระบบ AI ที่ฉลาดและมีความสามารถมากกว่าสมองของมนุษย์ที่ฉลาดที่สุด ASI จะมีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับปัญหาที่ซับซ้อน แสดงความคิดสร้างสรรค์
ปัญญาประดิษฐ์เชิงแคบ (Artificial Narrow Intelligence - ANI) AI ประเภทนี้หมายถึงระบบหรือเครื่องจักรที่ออกแบบมาเพื่อทำงานเฉพาะด้านหรือมีความสามารถเฉพาะด้าน ANI ถูกจำกัดไว้ที่โดเมนแคบๆ และขาดข้อมูลทั่วไป
ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์
ด้านอุตสาหกรรม
ด้านระบบความปลอดภัย
ด้านงานวิจัย
ด้านการทหาร
ด้านการค้าในเชิงธุรกิจพาณิชย์
ด้านการแพทย์หรือด้านสุขภาพ
ด้านระบบเครือข่าย
ด้านการบันเทิง
ด้านประมวนผลภาษา
ด้านอื่นๆ
ด้านคมนาคม