Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence), นส วิภาดา ศรีเหรา เลขที่ 29 ม 6/2…
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence)
ความหมายของปัญญาประดิษฐ์
เทคโนโลยีที่ทำให้เครื่องจักรหรือคอมพิวเตอร์สามารถทำงานหรือคิดเหมือนมนุษย์ เช่น การเรียนรู้ การตัดสอนใจ
ประวัติความเป็นมา และนิยาม
ปัญญาประดิษฐ์กำเนิดขึ้นในราวปีคศ1956ในที่ประชุมวิชาการที่มหาวิทยาลัยดาร์ตมัทที่ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีการทำวิจัยขึ้นคือทฤษฎีออโตมาตาโครงข่ายใยประสาท และศึกษาเรื่องความฉลาด
3) การจัดการแทนค่าออกมาเป็นคำตอบ
2) การดึงข้อมูลที่เกี่ยวข้องออกมาใช้
1) การสร้างวิธีการแทนสิ่งที่อยู่ในใจ
ในปีคศ1956 จอห์น แม็กคาร์ที ได้ให้คำนิยามไว้ว่า เป็นศาสตร์ทางด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ในการสร้างความฉลาดให้กับเครื่องจักร
4 ประเภท 2 มิติ
• นิยามที่เน้นระบบที่เลียนแบบมนุษย์กับนิยามที่เน้นระบบที่มีเหตุผล
ความเชื่อมโยง
ระบบที่คิดเหนือมนุษย์
ระบบที่กระทำเหมือนมนุษย์
ระบบที่กระทำอย่างมีเหตุผล
• นิยามที่เน้นความคิดเป็นหลักกับนิยามที่เน้นการกระทำเป็นหลัก
ความเชื่อมโยง
ระบบที่คิดอย่างมีเหตุผล
ประเภทของปัญญาประดิษฐ์
2) Artificial General Intelligence สติปัญญาที่เทียบเท่ากับสมองมนุษย์ ในปัจจุบันยังไม่สามารถสร้างได้
3) Artificial Super Intelligence มีปัญญาเหนือมนุษย์ฉลาด และมีปัญญามากกว่าสมองมนุษย์
1) Artificial Narrow Intelligence สติปัญญาที่มีความสามารถในกาทำงานในที่แคบ ๆเช่น siriที่สามารถพูดคุยกับบุคคลได้
ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์
ด้านการประมวลผลภาษา การใช้ปัญญาประดิษฐ์แปลภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง
ด้านการแพทย์หรือด้านสุขภาพ มีการนำแขนกลเข้าไปช่วยในการผ่าตัด ซึ่งสามารถทำงานได้ละเอียดกว่ามนุษย์มาก และมีข้อดี
ด้านคมนาคม การใช้ปัญญาประดิษฐ์ควบคุมการทำงานของรถยนต์หรือยานพาหนะ
ด้านระบบรักษาความปลอดภัย การใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการสแกนหรือตรวจจับสิ่งผิดปกติ
ด้านอื่น ๆ การใช้ปัญญาประดิษฐ์ฝังไว้ในหุ่นยนต์ทำให้สามารถทำหน้าที่แทนมนุษย์
ด้านการค้าในเชิงธุรกิจพาณิชย์ มีการใชปัญญาประดิษฐ์เข้ามาช่วยในการวิเคราะห์ และประมวลผลได้รวดเร็วกว่ามนุษย์
ด้านงานวิจัย งานวิจัยเริ่มมีการใช้ปัญญาประดิษฐ์เข้ามาช่วยในการดำเนินงาน เช่นในการสำรวจในบางบริเวณที่มีความเสี่ยง
ด้านอุตสาหกรรม ใช้หุ่นยนต์หรือปัญญษประดิษฐ์มาทำงานแทน ในงานบางประเภทที่อันตราย
ด้านการทหาร การนำปัญญษประดิษฐ์มาประยุกต์ใช้เป็นอุปกรณ์ต่าง ๆที่อำนวยความสะดวกในด้านการทหาร
ด้านการบันเทิง การสร้างหุ่นยต์ที่สามารถตอบโต้กับมนุษย์ได้ เป็นสัตว์เลี้ยง เป็นเพื่อนเล่น
นส วิภาดา ศรีเหรา เลขที่ 29 ม 6/2