Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติ ราชการทางปกครอง - Coggle Diagram
พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติ
ราชการทางปกครอง
:check:1. บทเกริ่นนำ
:star: 1.1 วิธีปฏิบัติ
ราชการทางปกครอง
ตามกฎหมายต่างๆ
วิธีปฏิบัติทั่วไป
: ใช้ตาม พ.ร.บ. นี้ :black_flag:
** เว้นแต่ กม.เฉพาะ มีความเป็นธรรม
/ มาตรฐานไม่ต่ำกว่า พ.ร.บ. นี้ :red_flag:
ขั้นตอน ระยะเวลาอุทธรณ์/โต้แย้ง
: กฎหมายเฉพาะ :red_flag:
:star: 1.2 พ.ร.บ. นี้
:red_cross:ไม่ใช้บังคับกับ ...
อำนาจนิติบัญญัติ
:red_cross: ก. รัฐสภา
อำนาจบริหาร :red_cross: ก. คณะรัฐมนตรี
:red_cross: ข. นายก/รัฐมนตรี ในการพิจารณานโยบายโดยตรง
:red_cross: ค. พิจารณาเรื่องร้องทุกข์/สั่งการ ตาม กม.กฤษฎีกา
อำนาจตุลาการ :red_cross: ก. พิจารณา/พิพากษาของศาล
:red_cross: ข. การพิจารณา/บังคับคดี/การวางทรัพย์ ของ จนท.
อำนาจตามรัฐธรรมนูญ
:red_cross: ก. องค์กรใช้อำนาจตาม รธน. โดยเฉพาะ
อำนาจอื่น :red_cross: ก.นโยบายต่างประเทศ
:red_cross: ข. ทหาร/ความมั่นคง
:red_cross: ค. ยุติธรรมทางอาญา
:red_cross: ง. องค์กรศาสนา
การยกเว้นหน่วยงานอื่นนอกจากนี้
:<3:ให้ตราเป็น พ.ร.ฎ. ตามข้อเสนอ คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการ
:star: 1.3 นิยาม
วิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง
ก. การเตรียม/ดำเนินการ
ข. ของเจ้าหน้าที่
ค. เพื่อจัดให้มี คำสั่งทางปกครอง
หรือกฎ หรือการดำเนินการใดๆ
:warning:
ในทางปกครอง :red_flag:
การพิจารณา
ทางปกครอง
ก. การเตรียม/ดำเนินการ
ข. ของเจ้าหน้าที่
ค. เพื่อจัดให้มี คำสั่งทางปกครอง :red_flag:
คำสั่ง
ทางปกครอง
ก. การใช้อำนาจตามกฎหมาย
ข. ของเจ้าหน้าที่
ค. ที่มีผลสร้าง นิติสัมพันธ์ ขึ้น ระหว่างบุคคล :red_flag:
ง. ทำให้ ก่อ ระงับ เปลี่ยนแปลง สิทธิ/หน้าที่ :<3:
เช่น การสั่งการ อนุญาต อนุมัติ รับรอง จดทะเบียน
การวินิจฉัยอุทธรณ์ :pencil2:
แต่ไม่รวมการออกกฎ :red_cross:
** มักจำเพาะเจาะจงว่า สั่งใคร มีชื่อ นามสกุล ชัดเจน :recycle:
ยังหมายรวมถึง การอื่นที่กำหนดในกฎกระทรวงด้วย :star:
เจ้าหน้าที่
ก. บุคคล คณะบุคคล นิติบุคคล
ข. ซึ่งใช้อำนาจทางปกครอง/ได้รับมอบอำนาจ :fire:
ค. ในการดำเนินการตามกฎหมายอย่างหนึ่ง :pen:
ง. ระบบราชการ รัฐวิสาหกิจ กิจการอื่นของรัฐ
คู่กรณี
คือ ผู้ที่อาจได้รับผลกระทบจากคำสั่งทางปกครอง :<3:
ก. ผู้ที่อยู่ในบังคับ/จะอยู่ในบังคับ คำสั่งทางปกครอง
ข. ผู้ที่เข้ามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง
เนื่องจากได้รับผลกระทบต่อสิทธิ จากคำสั่งทางปกครอง
ค. ผู้ที่ยื่นคำขอ คำสั่งทางปกครอง
ง. ผู้ที่คัดค้านคำขอ คำสั่งทางปกครอง :red_flag:
คณะกรรมการวินิจฉัย ข้อพิพาท
ก. คณะกรรมการที่จัดตั้งตาม กม.
ข. ที่จัดตั้งองค์กร/วิธีพิจารณา
ค. การวินิจฉัย สิทธิ/หน้าที่ ตาม กม.
กฎ
ก. บทบัญญัติที่มีผลบังคับเป็นการทั่วไป
ข. ไม่มุ่งหมายใช้บังคับแก่ กรณีใด หรือบุคคลใดเฉพาะ :recycle::
เช่น พ.ร.ฎ. กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง :red_flag:
ข้อบัญญัติท้องถิ่น ระเบียบ ข้อบังคับ บทบัญญัติอื่น
** พ.ร.บ. ไม่ใช่ กฎ :warning:
:star: 1.4 นายกรัฐมนตรี
รักษาการ พ.ร.บ.
มีอำนาจออก
กฎกระทรวง/ประกาศ
เพื่อปฏิบัติการตาม พ.ร.บ. :red_flag:
บังคับใช้ได้ เมื่อประกาศ ในราชกิจจา :tada:
:check: 3. คำสั่งทางปกครอง
:star: 2.1 เจ้าหน้าที่
คำสั่งทางปกครอง ต้องกระทำโดย
ก. เจ้าหน้าที่
ข. ที่มีอำนาจหน้าที่ในเรื่องนั้น :red_flag:
เจ้าหน้าที่ ที่พิจารณาทางปกครองไม่ได้ :red_cross: (ม.13)
ก. เป็นคู่กรณีเอง :forbidden:
ข. เป็น/เคยเป็น คู่หมั้น-คู่สมรส ของคู่กรณี :<3:
ค. เป็น/เคยเป็น ผู้อยู่กินฉันสามีภริยา ของคู่กรณี :<3:
ง. เป็น/เคยเป็น ผู้อยู่กินฉันสามีภริยาเพศเดียวกัน ของคู่กรณี :silhouettes:
จ. เป็น บุพการี/ผู้สืบสันดาน ของคู่กรณี :lock:
ฉ. เป็น/เคยเป็น ผู้รับบุตรบุญธรรม/บุตรบุญธรรม ของคู่กรณี :unlock:
ช. เป็น พี่น้อง หรือลูกพี่ลูกน้อง นับเพียง 3 ชั้น ของคู่กรณี :!:
ซ. เป็น ญาติทางการแต่งงาน นับเพียง 2 ชั้น ของคู่กรณี :!!:
ฌ. เป็น ลุง ป้า น้า อา ของคู่กรณี :silhouette:
ญ. เป็น เจ้าหนี้-ลูกหนี้ ของคู่กรณี :money_mouth_face:
ฎ. เป็น นายจ้าง-ลูกจ้าง ที่ปรึกษารับค่าตอบแทน คู่กรณี :moneybag:
ฏ. เป็น/เคยเป็น ผู้แทนชอบธรรม ผู้พิทักษ์ ผู้แทน ตัวแทน คู่กรณี :ferry:
ฐ. เป็นผู้พักอาศัยครัวเรือนเดียวกัน :tada:
กรณี เจ้าหน้าที่เห็นเอง / มีผู้คัดค้าน ว่ามีเหตุ ตาม ม.13
ก. ให้ เจ้าหน้าที่ หยุดพิจารณาเรื่องไว้ก่อน :red_cross:
ข. แจ้งผู้บังคับบัญชา เหนือตนชั้นหนึ่งทราบ :warning:
เพื่อให้ ผู้บังคับบัญชามีคำสั่งต่อไป :red_flag:
** การยื่นคำคัดค้าน / การพิจารณาคำคัดค้าน / การสั่งให้ จนท.อื่น ปฏิบัติหน้าที่แทน > ตามหลักเกณฑ์/วิธีการใน กฎกระทรวง :red_flag:
กรณีมีเหตุอื่น นอกจากบัญญัติใน ม.13
ก. ของ จนท./กรรมการที่มีอำนาจพิจารณาทางปกครอง
ข. มีสภาพร้ายแรง ทำให้พิจารณาไม่เป็นกลาง :fire:
ค. หลัก: จนท./กรรมการผู้นั้น จะพิจารณาทางปกครองเรื่องนั้นไม่ได้ :red_cross:
ผู้นั้นเห็นเองว่ามีสภาพร้ายแรง
ให้หยุดพิจารณา :red_cross:
ให้แจ้งผู้บังคับบัญชาชั้นหนึ่ง หรือประธานกรรมการทราบ :!:
มีผู้คัดค้านว่ามีสภาพร้ายแรง แต่ผู้นั้นเห็นว่าตนไม่มี สภาพร้ายแรง
ผู้นั้นจะพิจารณาต่อไปก็ได้ :check:
ให้แจ้งผู้บังคับบัญชาชั้นหนึ่ง หรือประธานกรรมการทราบ :!:
ให้ผู้บังคับบัญชา/คณะกรรมการ
มีคำสั่งโดยไม่ชักช้าว่า ผู้นั้นมีอำนาจพิจารณาทางปกครองหรือไม่ :red_flag:
กรณีตาม ม.13 และกรณี สภาพร้ายแรง
:red_cross:ไม่ให้นำมาใช้บังคับ กรณีจำเป็นเร่งด่วน :alarm_clock:
ก. หากปล่อยช้าไปจะเสียหายต่อประโยชน์สาธารณะ
ข. หากปล่อยช้าไปจะเสียหายต่อสิทธิของบุคคลแบบไม่มีทางแก้ไขได้
ค. ไม่มีเจ้าหน้าที่อื่นปฏิบัติหน้าที่แทน :black_flag:
:star: 2.2 คู่กรณี
ผู้ที่อาจเป็นคู่กรณีได้ :red_flag:
ในการพิจารณาทางปกครอง
ก. บุคคลธรรมดา
ข. คณะบุคคล
ค. นิติบุคคล
(ตาม ขอบเขตที่สิทธิของตนถูกกระทบ/อาจถูก)
ผู้ที่ ถือว่า มีความสามารถ กระทำการ :red_flag:
ในกระบวนพิจารณาทางปกครอง
ก. ผู้ที่บรรลุนิติภาวะ
ข. ผู้ที่ไม่บรรลุนิติภาวะ แต่
:fountain_pen: a. มีกฎหมายเฉพาะ กำหนดให้มีความสามารถ
:pen: b. มีประกาศของนายก ฯ กำหนดให้มีความสามารถ
:pen: c. มีประกาศของผู้ที่นายก ฯ มอบหมายใน ราชกิจจา
ค. ตัวแทน/ผู้แทน ของ คณะบุคคล/นิติบุคคล
สิทธินำ ทนายความ/ที่ปรึกษา เข้ามาในการพิจารณา
ก. นำมาได้ กรณี คู่กรณีต้องมาปรากฎตัวต่อเจ้าหน้าที่
ข. การใดที่ ทนายความ/ที่ปรึกษา ทำลงต่อหน้าคู่กรณี
:check: ให้ถือว่า เป็นการกระทำของคู่กรณี
:red_cross: เว้นแต่ คู่กรณีจะคัดค้านเสียในขณะนั้น
กรณี ยื่นคำขอร่วมกัน เกิน 50 คน :silhouettes:
หรือ คู่กรณีมีคำขออย่างเดียวกัน เกิน 50 คน :silhouettes:
ก. ถ้ามีคำขอระบุผู้ใดเป็นตัวแทน : ผู้นั้นเป็นตัวแทนร่วม
ข. ไม่มีคำขอระบุผู้ใด : ให้ จนท. แต่งตั้งบุคคลที่เสียงข้างมากเห็นชอบ
ค. ตัวแทนร่วมต้องเป็น บุคคลธรรมดา :silhouette:
ง. การยกเลิกตัวแทน หรือขอเลิกเป็นตัวแทน : ต้องทำเป็นหนังสือ :red_flag:
:star: 2.3 การพิจารณา
เจ้าหน้าที่ ต้องแจ้ง
สิทธิและหน้าที่
ในกระบวนพิจารณาทางปกครอง
ให้คู่กรณีทราบ
ตามจำเป็นแก่กรณี :red_flag:
เจ้าหน้าที่
มีอิสระในการตรวจสอบ
ข้อเท็จจริง
ก. อาจตรวจสอบข้อเท็จจริงได้ตามความเหมาะสม :check:
ข. ไม่ผูกพันอยู่กับ คำขอ/พยานหลักฐาน ของคู่กรณี :red_cross:
เจ้าหน้าที่ ต้องพิจารณาพยาน/หลักฐาน
ที่ตนเห็นว่า
จำเป็นต่อการพิสูจน์
ข้อเท็จจริง :star:
โดยให้รวมถึงการ
ก.
รับฟัง
พยานทุกอย่าง* คำชี้แจง ความเห็น ของคู่กรณี
(เว้นแต่ ไม่จำเป็น ฟุ่มเฟือย ประวิงเวลา) :forbidden:
พยานหลักฐาน พยานบุคคล พยานผู้เชี่ยวชาญ :<3:
ข. ขอ ข้อเท็จจริง ความเห็น และพยาน จากคู่กรณี
ค. ขอให้ ผู้ครอบครองเอกสาร ส่งเอกสารที่เกี่ยวข้อง :bookmark_tabs:
ง. แสวงหา พยานหลักฐานทุกอย่างที่เกี่ยวข้อง :!:
จ. ออกไป ตรวจสถานที่ :!!:
กรณี คำสั่งทางปกครองอาจกระทบสิทธิของคู่กรณี :black_flag:
:check:เจ้าหน้าที่ต้องให้โอกาส คู่กรณี
ก. ได้
ทราบ
ข้อเท็จจริงอย่างเพียงพอ
ข. ได้
โต้แย้ง
ค. ได้
แสดง
พยานหลักฐาน :red_flag:
:red_cross: ห้ามให้เจ้าหน้าที่ ให้โอกาส กรณีต่อไปนี้
ก. จำเป็นรีบด่วน ปล่อยช้าไป เสียหายร้ายแรงผู้หนึ่ง
ข. จำเป็นรีบด่วน ปล่อยช้าไป กระทบประโยชน์สาธารณะ :!:
ค. ก่อให้เกิด ผลเสียหายร้ายแรงต่อประโยชน์สาธารณะ :!!:
ง. มีผลทำให้ การทำคำสั่งทางปกครอง ล่าช้ากว่าเวลาที่ กม.กำหนด :alarm_clock:
จ. ข้อเท็จจริง ที่คู่กรณีให้ไว้เอง ในคำขอ คำให้การ คำแถลง
ฉ. เห็นได้ชัดว่า ให้โอกาสกระทำไม่ได้
ช. มาตรการบังคับทางปกครอง
สิทธิของคู่กรณี ในการขอตรวจดูเอกสาร :check:
ก. กรณี จำเป็นต้องรู้เพื่อการโต้แย้ง/ชี้แจง/ป้องกันสิทธิของตน
กรณีที่ ขอดูไม่ได้ :red_cross:
ก. กรณี ที่ต้องรักษาไว้เป็นความลับ
ข. กรณี ยังไม่ได้ทำคำสั่งทางปกครองในเรื่องนั้น
ขอดู ต้นร่างคำวินิจฉัย ไม่ได้
:star: 2.4 รูปแบบ/ผลของคำสั่งทางปกครอง
คำสั่งทางปกครอง :black_flag:
ก. ทำเป็นหนังสือ :book:
ข. วาจา :open_mouth:
ค. สื่อรูปแบบอื่น :red_flag:
(มีข้อความ/ความหมาย ชัดเจนเพียงพอเข้าใจได้)
กรณี คำสั่งทางปกครอง ด้วยวาจา :open_mouth:
ก. ถ้าผู้รับคำสั่งร้องขอ
ข. ร้องขอโดยมีเหตุอันควร
ค. ร้องขอภายใน 7 วัน (นับแต่วันที่คำสั่ง)
:silhouette: ผู้ออกคำสั่ง ต้องยืนยันคำสั่งนั้นเป็นหนังสือ
กรณี คำสั่งทางปกครอง ทำเป็นหนังสือ :book:
:star: อย่างน้อยต้องระบุ
ก. วัน เดือน ปี ที่ทำคำสั่ง
ข. ชื่อ ของผู้ทำคำสั่ง
ค. ตำแหน่ง ของผู้ทำคำสั่ง
ง. ลายมือชื่อ ของผู้ทำคำสั่ง :pen:
:star: ต้องจัดให้มีเหตุผล เหตุผลต้องประกอบด้วย
ก. ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญ
ข. ข้อกฎหมายที่อ้างอิง
ค. ข้อพิจารณา/ข้อสนับสนุน ในการใช้ดุลพินิจ :red_flag:
กรณี นายก ฯ จะกำหนดให้ระบุเหตุผลเพิ่มใน คำสั่งใด
ให้ประกาศในราชกิจจา :black_flag:
ระยะเวลา ในการออกคำสั่งทางปกครอง :timer_clock:
ก. จนท. ออกคำสั่งทางปกครอง ให้แล้วเสร็จ ภายใน 30 วัน
ข. นับแต่วันที่ เจ้าหน้าที่ได้รับคำขอ/เอกสาร ถูกต้องครบถ้วน
ค. มิได้ มีกฎหมายกำหนดไว้เป็นประการอื่น
ง. เป็นหน้าที่ ผู้บังคับบัญชา กำกับดูแล ในออกในเวลา
คำสั่ง ทางปกครอง ที่อาจอุทธรณ์/โต้แย้งได้ ให้ระบุ :pencil2:
ก. กรณีที่อาจอุทธรณ์/โต้แย้ง
ข. การยื่นคำอุทธรณ์/โต้แย้ง
ค. ระยะเวลาสำหรับการอุทธรณ์/โต้แย้ง
:!: กรณีฝ่าฝืน ไม่ระบุ (ตาม ก. ข. ค.)
ก. ให้ระยะเวลาอุทธรณ์ เริ่มนับใหม่ (ตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้งหลักเกณฑ์)
ข. ถ้าไม่มีการแจ้งใหม่+ระยะเวลาสั้นกว่า 1 ปี
ให้ขยายเป็น 1 ปี นับแต่วันที่รับคำสั่งทางปกครอง :red_flag:
คำสั่ง ทางปกครอง ที่ฝ่าฝืนหลักเกณฑ์ :red_cross:: คำสั่งยังคงสมบูรณ์ :check:
ก. คำสั่ง ที่ต้องมีผู้ยื่นขอ แต่ออกโดยยังไม่มีผู้ยื่นคำขอ
(แต่ภายหลัง ได้มีการยื่นคำขอ)
ข. คำสั่ง ที่ต้องจัดให้มีเหตุผล แต่ออกโดยไม่ระบุเหตุผล
(แต่ภายหลัง มีการระบุเหตุผล)
ค. คำสั่ง ที่ต้องให้จนท.อื่นเห็นชอบก่อน แต่ออกโดยยังไม่เห็นชอบ
(แต่ภายหลัง เจ้าหน้าที่อื่นนั้นเห็นชอบ)
ง. คำสั่ง ที่ต้องรับฟังคู่กรณี แต่ออกโดยไม่รับฟัง
(แต่ภายหลัง มีการรับฟังคู่กรณี)
คำสั่งทางปกครอง ใช้ยันกับบุคคล
ก. ใช้ยันได้ตั้งแต่ ผู้นั้นได้รับแจ้ง :open_mouth:
ข. มีผลตราบที่ยังไม่เพิกถอน หรือสิ้นผลโดยเงื่อนเวลา/เหตุอื่น :timer_clock:
ค. คำสั่งที่มี ข้อผิดพลาดเล็กน้อย/ผิดหลงเล็กน้อย
:pen:เจ้าหน้าที่ อาจแก้ไขได้เสมอ
:star: 2.5 การอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง
การอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง
:recycle: หลักเกณฑ์อุทธรณ์
ก. คำสั่งไม่ได้ออกโดยรัฐมนตรี
ข. ไม่มี กม.กำหนด ขั้นตอนอุทธรณ์ไว้โดยเฉพาะ
:recycle: วิธีการอุทธรณ์
ก. คู่กรณี อุทธรณ์โดยยื่นต่อ จนท. ผู้ทำคำสั่ง
ข. ยื่นภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ตนได้รับแจ้งคำสั่ง
ค. ทำคำอุทธรณ์ เป็นหนังสือ
ง. ระบุ 1. ข้อโต้แย้ง 2. ข้อเท็จจริง/ข้อกฎหมาย ที่อ้างอิงประกอบ
:red_cross: การอุทธรณ์ ไม่เป็นเหตุให้ทุเลาการบังคับตามคำสั่งปกครอง
เว้นแต่ จะมีการสั่งให้ทุเลาการบังคับ :unlock:
การรับอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง
ก. ให้ จนท. พิจารณา+แจ้งผลผู้อุทธรณ์
โดยไม่ชักช้า ไม่เกิน 30 วัน นับแต่ได้รับอุทธรณ์
:check: กรณีเห็นด้วย กับคำอุทธรณ์
a. ให้ดำเนินการเปลี่ยนแปลงคำสั่ง ภายใน 30 วัน
:red_cross: กรณีไม่เห็นด้วย กับคำอุทธรณ์
a. ให้รายงานความเห็นพร้อมเหตุผล ไปยังผู้มีอำนาจ
พิจารณาคำอุทธรณ์ ภายใน 30 วัน
b. ให้ผู้มีอำนาจพิจารณาคำอุทธรณ์ พิจารณาให้แล้วเสร็จ
ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ตนได้รับรายงาน
c. กรณี ผู้มีอำนาจพิจารณา มีเหตุจำเป็น ไม่อาจพิจารณาใน 30 วัน
:pencil2: ให้มีหนังสือแจ้งผู้อุทธรณ์ ทราบ ก่อนครบกำหนด 30 วัน
:pen: ให้ขยายเวลาไปอีกไม่เกิน 30 วัน นับแต่วันครบกำหนด
:star: 2.6 การเพิกถอนคำสั่งทางปกครอง
กรณี เพิกถอนคำสั่งที่เป็นประโยชน์
ก. ต้องกระทำภายใน 90 วัน นับแต่รู้ถึงเหตุเพิกถอน :red_flag:
ข. เว้นแต่กรณีที่ คำสั่งทางปกครองทำขึ้นจาก
:open_mouth:a. การแสดงข้อความอันเป็นเท็จ/ปกปิดความจริง
:fist:b. การข่มขู่
:money_with_wings:c. การชักจูงใจ โดยการให้ทรัพย์สิน/ประโยชน์อื่นใด
(กรณี เหล่านี้ เกิน 90 วัน ก็ยังเพิกถอนได้)
กรณี ผู้ได้รับผลกระทบจากการ เพิกถอนคำสั่ง
:money_with_wings: มีสิทธิได้รับค่าทดแทน ความเสียหาย
ก. เชื่อโดยสุจริตในความคงอยู่ของคำสั่ง
ข. ร้องขอภายใน 180 วัน นับแต่ได้รับแจ้งการเพิกถอน :red_flag:
ค. ค่าทดแทน ต้องไม่สูงกว่าประโยชน์ที่ผู้นั้นอาจได้รับ
:star: 2.7 การขอให้พิจารณาใหม่
หลักเกณฑ์ การขอพิจารณาใหม่ :black_flag:
ก. มีพยานหลักฐานใหม่ (ทำให้ข้อเท็จจริงเปลี่ยนแปลงในสาระสำคัญ)
ข. เจ้าหน้าที่ ไม่มีอำนาจ ทำคำสั่งทางปกครองในเรื่องนั้น
ค. คู่กรณีที่แท้จริง มิได้เข้ามาในกระบวนพิจารณา
ง. คู่กรณีที่แท้จริง เข้ามาในกระบวน แต่ถูกตัดออกโดยไม่เป็นธรรม
จ. คำสั่งทางปกครอง ออกโดยอาศัยข้อเท็จจริง/ข้อกฎหมายใด + ต่อมาข้อเท็จจริง/ข้อกฎหมายเปลี่ยนแปลงสำคัญ ในทางเป็นประโยชน์กับคู่กรณี
:warning: หมายเหตุ
การยื่นคำขอ โดยเหตุ ข้อ ก. ข. ค. ง. ทำได้เฉพาะกรณี
คู่กรณีไม่ทราบถึงเหตุนั้นมาก่อน และไม่ใช่ความผิดของคู่กรณี :red_flag:
การยื่นคำขอ ต้องทำใน 90 วัน นับแต่รู้เหตุ ขอพิจารณาใหม่ :timer_clock:
:check: 4. การบังคับทางปกครอง
:star: 4.1 การบังคับ ตามคำสั่ง ให้ชำระเงิน :moneybag:
กรณี ไม่ชำระให้ถูกต้องครบถ้วน ตามคำสั่ง :red_cross:
ก. ให้เจ้าหน้าที่ผู้ทำคำสั่ง มีหนังสือเตือน
ข. ให้ชำระภายในเวลาที่กำหนด
ค. ระยะเวลาต้องไม่น้อยกว่า 7 วัน
ง. ถ้าไม่ชำระ ให้ จนท. มีมาตรการทางปกครอง
โดย ยึด อายัดทรัพย์สิน ขายทอดตลาด นำเงินมาชำระ :money_with_wings:
จ. โดยแต่งตั้ง เจ้าพนักงานทางปกครอง เพื่อดำเนินการ :silhouette:
กรณี การสืบหาทรัพย์ ของผู้อยู่ในบังคับ
: กรณี จำนวนเงิน น้อยกว่า 2 ล้านบาท :money_with_wings:
ก. หน่วยงานของรัฐที่ออกคำสั่ง
ข. อาจร้องขอ สำนักงานอัยการสูงสุด/หน่วยงานอื่น
ค. ดำเนินการสืบหาทรัพย์แทนได้
: กรณี จำนวนเงิน 2 ล้านบาทขึ้นไป :money_with_wings: :money_with_wings:
ก. หน่วยงานของรัฐที่ออกคำสั่ง
ข. อาจร้องขอ เอกชน (ค่าตอบแทน 2.5%) :tada:
ค. ดำเนินการสืบหาทรัพย์แทนได้
:star: 4.2 การบังคับ ตามคำสั่ง
ให้กระทำ/ละเว้นกระทำ :hand:
กรณี ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติ ตามคำสั่ง :red_cross:
เจ้าหน้าที่ อาจใช้มาตรการบังคับทางปกครอง อย่างหนึ่งอย่างใด
:!: จนท. ทำเอง/มอบหมาย แต่ผู้ถูกคำสั่ง ต้องจ่ายเงิน :money_with_wings:
ก. จนท. จะดำเนินการด้วยตัวเอง หรือมอบหมายให้คนอื่นกระทำ
ข. ผู้อยู่ในบังคับ ต้องชดใช้
ค่าใช้จ่ายและเงินเพิ่มรายวัน
25% ต่อ ปี
ค. ให้แก่หน่วยงานของรัฐที่เจ้าหน้าที่สังกัด
:!: ให้มีการชำระค่าปรับบังคับตามสมควร ไม่เกิน 5 หมื่นบาท/วัน :money_mouth_face:
ต้องแจ้งเตือนเป็นหนังสือ ก่อนใช้มาตรการทางปกครอง :!!:
ก. จนท. ต้องมีหนังสือแจ้งเตือน ให้กระทำการ/ละเว้นการกระทำการ
ข. ภายในระยะเวลาที่กำหนดตามสมควร
ค. จะใส่คำเตือนไปพร้อมกับ คำสั่งทางปกครองก็ได้
ง. คำเตือนต้องระบุ 1. มาตรการบังคับที่ชัดแจ้ง 2. ค่าใช้จ่าย/เงินเพิ่มรายวัน ในการที่ จนท.เข้าดำเนินการเอง / มอบหมายผู้อื่นกระทำ 3. จำนวนค่าปรับบังคับการ :red_flag:
:check: 5. การแจ้งคำสั่ง
ทางปกครอง
การแจ้ง อาจกระทำด้วยวาจาได้ :open_mouth:
ก. การแจ้งคำสั่งทางปกครอง/การนัดพิจารณา/การอื่น
ข. จนท. อาจกระทำด้วยวาจาก็ได้
ค. แต่ถ้าผู้รับแจ้ง ประสงค์ให้ทำเป็นหนังสือ ให้แจ้งเป็นหนังสือ :green_book:
การแจ้ง เป็นหนังสือ :green_book:
ก. ให้ส่งหนังสือแจ้งต่อผู้นั้น
ข. ถ้าส่งไปยังภูมิลำเนาผู้นั้น :house:
ค. ให้ถือว่า ได้รับแจ้งตั้งแต่ในขณะที่ไปถึง :red_flag:
ง. ถ้าให้ที่อยู่กับ จนท.ไว้ ถ้าแจ้งไปยังที่อยู่นั้น = ภูมิลำเนา
การแจ้ง เป็นหนังสือ โดยวิธีให้บุคคลนำส่ง :man:
ก. ถ้า ผู้รับไม่ยอมรับ / ไม่พบผู้รับ :red_cross:
:check: วิธีแก้ ส่งให้กับ บุคคลบรรลุนิติ ที่อยู่/ทำงาน ณ สถานที่นั้น
:star: ให้ถือว่ารับแจ้งแล้ว
ข. ถ้า ผู้ที่รับฝาก ไม่ยอมรับ :red_cross:
:check: วิธีแก้ วางหนังสือ/ปิดหนังสือ ในที่เห็นง่าย ณ สถานที่นั้น
ต่อหน้าเจ้าพนักงานที่ไปเป็นพยาน
:star: ให้ถือว่ารับแจ้งแล้ว
การแจ้ง โดยวิธีส่งทางไปรษณีย์ ตอบรับ :mailbox:
ก. ให้ถือว่า ได้รับแจ้ง เมื่อครบ 7 วัน นับแต่วันส่ง (ในประเทศ)
ข. ให้ถือว่า ได้รับแจ้ง เมื่อครบ 15 วัน นับแต่วันส่ง (ต่างประเทศ)
เว้นแต่ พิสูจน์ได้ว่า
a. ไม่มีการได้รับ b. ได้รับก่อน c. ได้รับหลังจากวันนั้น :black_flag:
กรณี ผู้รับเกิน 50 คน :silhouettes:
ก. จนท. จะแจ้งให้ทราบตั้งแต่เริ่มดำเนินการในเรื่องนั้น
ข. ว่าจะแจ้งต่อบุคคลเหล่านั้น โดยวิธีปิดประกาศ ก็ได้
ค. ณ ที่ทำการของ จนท. / ที่ว่าการอำเภอที่ผู้รับมีภูมิลำเนา
ง. ให้ถือว่า ได้รับแจ้งเมื่อล่วงพ้นเวลา 15 วัน นับแต่วันที่แจ้ง
กรณี ไม่รู้ตัวผู้รับ / รู้ตัวแต่ไม่รู้ภูมิลำเนา / ผู้รับเกิน 100 คน :question:
ก. แจ้งเป็นหนังสือ จะทำโดยการประกาศหนังสือพิมพ์:newspaper:
ข. หนังสือพิมพ์ แพร่หลาย ในท้องถิ่นนั้น
ค. ให้ถือว่า ได้รับแจ้งเมื่อพ้นเวลา 15 วัน นับแต่วันที่แจ้งใน นสพ.
:check: 2. คณะกรรมการ
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
:star: 2.1 กรรมการ
ประธาน
:pen:ครม. เป็นผู้แต่งตั้ง จากผู้เชี่ยวชาญ *
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 5-9 คน
:pen:ครม. เป็นผู้แต่งตั้ง จากผู้เชี่ยวชาญ *
(นิติ รัฐ รัฐประศาสน บริหารราชการ) :red_cross: ดำรงตำแหน่งการเมือง
กรรมการโดยตำแหน่ง 5 คน
ก. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ข. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ค. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ง. เลขาธิการ ก.พ.
จ. เลขาธิการ คกก.กฤษฎีกา
เลขานุการ/ผู้ช่วยเลขา
:pen: เลขาธิการ คกก.กฤษฎีกา แต่งตั้ง
จาก ข้าราชการ สำนัก คกก. กฤษฎีกา
:star: 2.2 วาระการดำรงตำแหน่ง
ของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
คราวละ 3 ปี ต่อได้เรื่อยๆ :pen:
พ้นวาระแล้ว แต่ยังไม่ตั้งใหม่ ทำไปก่อน :check:
:star: 2.4 อำนาจหน้าที่
ของคณะกรรมการ วิธีปฏิบัติ ฯ
สอดส่องดูแล ให้คำแนะนำ
ให้คำปรึกษาเจ้าหน้าที่ (ร้องขอ)
มีหนังสือเรียกเจ้าหน้าที่ / ผู้อื่น
มาชี้แจงประกอบการพิจารณา
เสนอแนะ การตรา พ.ร.ฎ. ออกกฎกระทรวง
หรือประกาศ ตาม พ.ร.บ. นี้ :warning:
รายงาน ต่อ คณะรัฐมนตรี การปฏิบัติตาม พ.ร.บ.
อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง :red_flag:
เรื่องที่ คณะรัฐมนตรี / นายก ฯ มอบหมาย :red_flag:
:star: 2.3 สำนักงานเขานุการ
ของคณะกรรมการ วิธีปฏิบัติ ฯ
สำนักงานคณะกรรมกฤษฎีกา ทำหน้าที่ :red_flag:
รับผิดชอบ งานธุรการ งานประชุม ข้อมูล
:check: 6. บทเฉพาะกาล
/หมายเหตุ
:star: 6.1 บทเฉพาะกาล
เมื่อมีการจัดตั้งศาลปกครอง
:red_cross: สิทธิโต้แย้ง ต่อ คกก. วินิจฉัยร้องทุกข์
ตาม กม.ว่าด้วย คกก. กฤษฎีกา เป็นอันยกเลิกไป
:star: 6.2 หมายเหตุ
เหตุผลในการประกาศ พ.ร.บ. ฉบับนี้
ก. การดำเนินการทางปกครอง ยังไม่มีหลักเกณฑ์/ขั้นตอนเหมาะสม
ข. เพื่อให้การดำเนินงานถูกกฎหมาย/มีประสิทธิภาพ
ค. สามารถรักษาประโยชน์สาธารณะได้
ง. อำนวยความเป็นธรรมแก่ประชาชน
จ. ป้องกันการทุจริต/ประพฤติมิชอบในวงราชการ