Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน - Coggle Diagram
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน
1. การประเมินภาวะสุขภาพชุมชน (Community Health Assessment)
ขั้นตอนการประเมินสุขภาพชุมชน
1.ขั้นเตรียมการ
2.การเก็บรวบรวมข้อมูลชุมชน
3.การวิเคราะห์ข้อมูลและแปรผลข้อมูล
4.การนำเสนอข้อมูล
ปราศจากแบบแผน
เช่น บทความ บทความกึ่งตาราง
มีแบบแผน
ตาราง กราฟ แผนภูมิ
ตรวจสอบข้อมูล ความถูกต้อง ครบถ้วนและจำแนกข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่
แหล่งข้อมูลชุมชน
ปฐมภูมิ
ได้จากการสัมภาษณ์ สอบถาม สังเกต
ทุติยภูมิ
ข้อมูลที่รวบรวมไว้แล้ว เช่น family folder เวชระเบียน
วิธีการเก็บข้อมูล
แผนที่ชุมชุน
การสำรวจ
การสนทนากลุ่ม
การประชุมกลุ่มสมัชชาหรือประชาคม
เตรียมความรู้ และทักษะของผู้ประเมิน
เตรียมทีมทำงาน ประกอบด้วย ทีมผู้ประเมินสุขภาพ
ชุมชนและตัวแทนประชาชน
กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
เตรียมเครื่องมือประเมินสุขภาพชุมชน
เครื่องมือศึกษาชุมชน 7 ชิ้น
1.แผนที่เดินดิน
ทำให้เห็นภาพรวมความเป็นชุมชน พื้นที่ทางกายภาพ พื้นที่ทางสังคม
2.ผังเครือญาติ
ช่วยให้เราเข้าใจความสัมพันธ์ในครอบครัวและชุมชน มองเห็นรากฐานของชุมชนทั้งชุมชนชนบทและในเมือง
3.โครงสร้างองค์กรชุมชน
ทำให้มองเห็นความหลากหลายของชุมชน ความสัมพันธ์ของคนในชุมชนทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง
4.ระบบสุขภาพชุมชน
เห็นถึงการพึ่งพาทางด้านสุขภาพของคนในชุมชน เรียกว่า โลกสุขภาพ เห็นถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรม ความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ
5.ปฏิทินชุมชน
ทำให้เรารู้เวลาและวงจรของการทำงานในชุมชน ทำให้สามารถวางแผนการจัดงานได้อย่างถูกต้อง เข้าใจวิถีของชุมชน
6.ประวัติศาสตร์ชุมชน
เข้าใจความเป็นมาของชุมชน ทำให้เราสามารถเลือกวิธีการทำงานกับชุมชนได้สอคล้องกับประสบการณ์ ความคาดหวัง และ ศักยภาพของชุมชนได้ดีขึ้น
7.ประวัติชีวิตบุคคลที่น่าสนใจ
ใช้เป็นสื่อกลางในการเข้าใจชาวบ้าน ทำให้เราเข้าใจชาวบ้านมากขึ้นผ่านบุคคลนั้นๆ
2. การวินิจฉัยปัญหาอนามัยชุมชน
Community Diagnosis
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสุขภาพชุมชน (Priority setting)
4 องค์ประกอบของการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
B : ความรุนแรงของปัญหา (Seriousness of the Problem)
ความเร่งด่วน (Urgency)
ความรุนแรงของปัญหา (Severity)
จำนวน/อัตราประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากปัญหา
ความเร่งด่วน/ความวิตกกังวล
A : ขนาดของปัญหา (Size of the Problem)
ประชาชนที่มีปัญหาหรือได้รับผลกระทบ
ร้อยละหรืออัตราของประชาชนที่มีปัญหาหรือได้รับผลกระทบ
อัตราอุบัติการ (Incidence Rate)
อัตราความชุกของโรค (Prevalence Rate)
C : ประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน(Effectiveness of the Intervention)
ความเป็นไปได้ของวิธีการที่จะนำไปใช้ในการแก้ปัญหา
D : ข้อจำกัด (Limitation)
ข้อจำกัด/ปัจจัยกำหนดความสำเร็จของโครงการ
ภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่
Propriety ความเหมาะสมของโครงการ
Economics เศรษฐกิจ งบประมาณสนับสนุน
Acceptability การยอมรับของชุมชนต่อโครงการ
Resources ทรัพยากร/การช่วยเหลือจากภาครัฐ/เอกชน/องค์กรภายในชุมชน
Legality การสนับสนุนของกฎหมายหรือนโยบาย
ขนาดของปัญหา (Size of the Problem)
ร้อยละของจํานวนผู้ที่ประสบปัญหาหรือได้รับผลกระทบโดยตรง
สถิติจํานวนผู้ป่วยหรือผู้ประสบปัญหาในระยะเวลา 1 ปีที่ผ่านมา
ไม่มีเลย = 0 คะแนน
มากกว่าร้อยละ 0 - 25 = 1 คะแนน
มากกว่าร้อยละ 25 - 50 = 2 คะแนน
มากกว่าร้อยละ 50 - 75 = 3 คะแนน
มากกว่าร้อยละ 75 ขึ้นไป = 4 คะแนน
Seriousness or Severity of problem ความรุนแรงของปัญหา
ปัญหาทางสุขภาพส่งผลให้เกิดการเสียชีวิตหรือทุพลภาพมากน้อยเพียงใด
ผลเสียทางด้านเศรษฐกิจทางครอบครัว ชุมชน หรือประเทศ
อัตราตาย อัตราทุพพลภาพจากโรคและอัตราการเกิดผลเสียทางด้านเศรษฐกิจโดยรวม
ไม่มีเลย = 0 คะแนน
ทำให้เจ็บป่วยเล็กน้อย = 1 คะแนน
ทำให้เจ็บป่วยเรื้อรัง = 2 คะแนน
ทำให้พิการ 3 คะแนน
ทำให้เสียชีวิต 4 คะแนน
Easiness of Management ความยากง่ายในการแก้ไข
ด้านวิชาการ มีองค์ความรู้หรือวิชาการในด้านใดมาแก้ไขปัญหา
ด้านการบริหาร ความเพียงพอทางด้านทรัพยากรและแหล่งเกื้อหนุน บุคคล เงิน สถานที่ วัสดุอุปกรณ์
ระยะเวลา มีเวลาเพียงพอในการแก้ไขปัญหา
ด้านกฎหมาย มีกฎหมายที่เอื้อต่อการแก้ไขปัญหา
ด้านศีลธรรม การแก้ไขปัญหาขัดกับศีลธรรมหรือวัฒนธรรมของชุมชน
ไม่มีทางทำได้เลย = 0 คะแนน
แก้ไขได้ยากมาก = 1 คะแนน
แก้ไขได้ยาก = 2 คะแนน
แก้ไขได้ง่าย = 3 คะแนน
แก้ไขได้ง่ายมาก = 4 คะแนน
Community Concerns ความสนใจของชุมชน
ประชาชนเห็นว่า ปัญหาที่เกิดขึ้นมีความสําคัญ มีความวิตกกังวล ห่วงใย และต้องการที่จะช่วยกันแก้ไขหรือไม่
การประเมินความสนใจของชุมชนอาจได้มาจากการ สังเกต สัมภาษณ์ หรือการสอบถามภายหลังที่ได้ปัญหามาแล้ว
ไม่มีเลย = 0 คะแนน
มากกว่าร้อยละ 0 - 25 = 1 คะแนน
มากกว่าร้อยละ 25 - 50 = 2 คะแนน
มากกว่าร้อยละ 50 - 75 = 3 คะแนน
มากกว่าร้อยละ 75 ขึ้นไป = 4 คะแนน
แนวทางการตัดสินลำดับความสำคัญของปัญหา
A + B + C + D
วิธีบวก (Additive Method)
ข้อดี : ขจัดปัญหาของค่าคะแนนในองค์ประกอบที่เป็น 0
ข้อเสีย : ไม่เห็นความแตกต่างที่ชัดเจนของคะแนน
A x B X C X D
วิธีคูณ (Multiplicative Method)
ข้อดี : เห็นความแตกต่างของคะแนนที่ชัดเจน
ข้อเสีย : กรณีองค์ประกอบมีค่าเป็น 0
ผลรวมจะมีค่า = 0
การระบุปัญหา
ใช้หลัก 5 D
Dead
ตาย : จำนวนประชากรที่ตายจากปัญหาหรืออัตราตายที่เกิดขึ้น
Disability
พิการ : จำนวนประชากรที่พิการจากปัญหา
Disease
โรค : จำนวนประชากรที่ป่วยจากปัญหา
Discomfort
ความไม่สุขสบาย : ความรู้สึกไม่สุขสบายของประชากรในชุมชน
Dissatisfaction
ความไม่พึงพอใจ : ความรู้สึกไม่พึงพอใจของประชาชนต่อปัญหาที่เกิดขึ้น
เปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานหรือภาพที่พึงประสงค์
ใช้กระบวนการกลุ่ม
การทำประชาคม
จัดประเภทของข้อมูลโดยแบ่งออกเป็น 4 หมวดย่อย
ลักษณะทั่วไปของชุมชน สิ่งแวดล้อมที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
ข้อมูลด้านสุขภาพอนามัย : อัตราการเกิด อัตราการตาย อัตราการเกิดโรคในชุมชน
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสุขภาพ : ภาวะโภชนาการ พฤติกรรมสุขภาพ
ข้อมูลระบบบริการสุขภาพต่างๆ : สิทธิในการรักษา บริการสุขภาพในชุมชน การเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร
การวิเคราะห์ปัญหา
KAP survey
Odd ratio
Web of causes
Actual web of causation
Theoretical web of causation
ทบทวนวรรณกรรม
ทำโครงการและนวัตกรรม
แผนการดำเนินงานและการดำเนินงานตามโครงการ
การประเมินผลการดำเนินการ
สรุปผลการดำเนินกิจกรรมและข้อเสนอแนะ
โครงการนวัตกรรมและสรุปผล
สรุปผลการดำเนินการฝึกงาน
3. การวางแผนดำเนินงานพยาบาลชุมชน
community planning
การวางแผนแก้ไขปัญหา
เมื่อได้สาเหตุของปัญหานั้นๆมาแล้วนำมาวางแผนเพื่อแก้ปัญหา ตัวอย่างเช่น สาเหตุของการติดโควิด 19 มาจากการไม่สวมใส่หยลน้ากากอนามัยจึงได้วางแผนจัดการสอนให้เห็นถึงความสำคัญของการสวมใส่หน้ากากอนามัย
4. การปฏิบัติตามแผนสุขภาพชุมชน
Community implementation
ขั้นดำเนินการ
พิจารณาว่าต้องทำอะไรบ้าง ทำอย่างไร ใครเป็นใครเป็น
ผู้รับผิดชอบกิจกรรมนั้นๆ (เขียนเป็น Gantt's Chart)
ติดตาม นิเทศและควบคุมงานตามสายงาน
ขั้นเตรียมการ
เตรียมตัวพยาบาลอนามัยชุมชน
เตรียมผู้รับบริการ ผู้รับบริการ/กลุ่มเป้าหมาย
เตรียมทรัพยากร/อุปกรณ์
ประชุมมอบหมาย
กำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบ
จัดระบบข้อมูล / เตรียมเอกสารที่จำเป็นไว้ล่วงหน้า
ติดต่อวิทยากร
ติดต่อขอใช้สถานที่
ตรวจสอบความพร้อมของทรัพยากรและงบประมาณ
การแก้ปัญหาสุขภาพชุมชุนโดยยึดหลักพัฒนาชุมชน
1.ยึดถือประชาชนเป็นหลัก
2.ยึดทรัพยากรของชาวบ้านเป็นหลัก
3.ยึดหลักประชาธิปไตยในการทำงาน
4.ยึดหลักการปกครอง
5.ยึดหลักการประสานงาน
6.การเปลี่ยนแปลงหรือดำเนินงานพัฒนาชุมชนต้องเริ่มจากสิ่งง่ายๆ
7.การเปลี่ยนแปลงใดๆของชาวบ้านเราต้องคำนึงสิ่งง่ายในชีวิต
8.ยึดถือวัฒนธรรมเป็นหลัก
การพัฒนาชุมชน (Community Development)
ชุมชนซึ่งอาศัยอยู่ร่วมกันมีความเจริญก้าวหน้าเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น
แนวคิดในการพัฒนาชุมชน
การช่วยเหลือตนเอง
การร่วมมือระหว่างรัฐและประชาชน
3.ความคิดริเริ่มของชุมชน
4.ความสมดุลในการพัฒนา
5. การประเมินผล
community evaluation
การประเมินผลลัพธ์และกระบวนการ
การประเมินตามสิ่งที่ได้จัดขึ้นตามแผน
ผลลัพธ์ที่ออกมาคุ้มค่ากับเงินที่มาสนับสนุนให้เกิดกิจกรรมขึ้นหรือไม่ เช่นได้นำเงินสนับสนุนมาจัดโครงการสอนให้ประชาชนเห็นถึงความสำคัญของการสวมใส่หน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันโควิด 19 นั้นทำให้ประชาชนไม่เป็นโควิด19 จริงหรือไม่