Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดด้านพฤติกรรมมนุษย์, สิ่งเร้า เข้าสุ่ร้างกายทางประสาทส้มผัสทั้ง 5…
แนวคิดด้านพฤติกรรมมนุษย์
สิ่งเร้า
เข้าสุ่ร้างกายทางประสาทส้มผัสทั้ง 5 และใจ
รูป
รส
กลิ่น
เสียง
สัมผัส
ความคิด-จำ-รุ้สึก
การศึกษาพฤติกรรมมนุษย์
เพื่อ
ความเข้าใจพฤติกรรม
เข้าถึงพฤติกรรมที่พึ่งประสงค์
ทำให้
ชีวิตของบุคคลดีขึ้น
การจัดการให้อยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุขในสังคม
แนวคิดด้านพฤติกรรมมนุษย์
จิตวิทยา
structuralism
Wilhelm Max Wundt
วิธีพินิจภายใน introspection
มนุษย์ประกอบด้วย กายและใจ
functionalism
William James
พฤติกรรม = การแสดงออกของจิตที่ปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม
การปรับตัว
วิธีการเรียนรู้
การแก้ปัญหา
การคิด
การจำ
การจูงใจ
psychoanalysis
Sigmund Freud
จิตสำนึกรู้
จิตก่อนสำนึกรู้
จิตไร้สำนึก
id
ego
superego
behaviorism
มนุษย์มีศักยภาพของการเรียนรู้
พฤติกรรมเกิดจากการเรียนรู้ที่ถูกวางเงื่อนไข
การเสริมแรง มีผลต่อการเรียนรู้
humanism
Carl Rogers
มนุษย์ มีแรงจูงใจทางบวก ที่จะพัมนาตนเองในทางที่เหมาะสม เป็นคนที่มีบุคลิกภาพสมบูรณ์
เข้าใจตนเอง เป็นตัวของตัวเอง
เชื่อในความสามารถของตัวเอง
รับผิดชอบการกระทำของตนเอง
มีชีวิตอยู่กับปัจจุบัน
ปรับตนเองเข้ากับสภาพความเป็นจริง
เปิดตนเองสู่ประสบการณ์ใหม่
Abraham maslow
ลำดับความต้องการ
self actualization
มีจิตใจเป็นคุณธรรม
self esteem
หน้าตาทางสังคม
sense of beloning
ความรัก/การได้รับการยอมรับ
safety needs
ความปลอดภัย
physiological needs
ปัจจัย 4
พุทธศาสนา
ส่วนประกอบของมนุษย์
ขันธ์ 5
มนุษย์
กาย (รูป)
ใจ (นาม)
การรับรู้ (วิญญาณ)
ความจำ (สัญญา)
ความรู้สึก (เวทนา)
ความคิด (สังขาร)
สิ่งที่อาศัยกันและกันเพื่อเกิดขึ้นพร้อม
ปัญญา คือ รู้และเห็นตามที่เป็นจริง
อริยสัจ 4
ทุกข์
เหตุเกิดทุกข์
ความดับทุกข์
เห็นถูก
รู้ เข้าใจ เห็นจนิง ในอริยสัจ 4
คิดถูก
คิดออกจาก 3 สิ่ง
กาม
พยาบาท ปองร้าย
การเบียดเบียน
พูดถูก
พุดด้วยจิตไมตรี
พูดจริง
พูดเป็นประโยชน์
พูดไพเราะ
พูดในเวลาสมควร
กระทำทางกายถูก
ไม่ฆ่า
ไม่ลักทรัพย์
ไม่ประพฤติผิดในกาม
เลี้ยงชีพถูก
เพียรถูก
ป้อนกัน
บาป อกุศลที่ยังไม่เกิด ไม่ให้เกิด
ละ
บาป อกุศลที่เกิดขึ้นแล้ว
สร้าง
กุศล ที่ยังไม่เกิด ให้เกิด
รักษา
กุศลที่เกิดขึ้น ให้ตั้งมั่น งอกงาม เจริญ
สติถูก
การเจริญสติปัฏฐาน 4
สมาธิถูก
ทำสมาธิ เป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่
หนทางให้ถึงความดับทุกข์
ปฏิจสมุปบาท
สิ่งต่างๆอาศัยกันและกันเกิด
ไตรลักษณ์
ไม่เที่ยง
เป็นทุกข์
ไม่มีตัวตนบุคคล
กรรม
คือ การกระทำที่มีเจตนา แสงได้ 3 ทาง
กาย
วาจา
ใจ
สติ
สัมปชัญญะ
ตัวรู้
ความรู้สึก
ใจ
จิตสัมผัส
จำ
อารมณ์
เหตุผล
พฤติกรรม
สัมผัส
มโนภาพ
สิ่งเร้า
ตอบสนอง
พฤติกรรม
พฤติกรรม
คือ การกระทำหรือการตอบสนองของบุคคลต่อสิ่งเร้า
กาย/เวทนา/จิต/ธรรม
รู้ตัว