Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่กับสถาบัน ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์,…
บทที่ 3 มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่กับสถาบัน ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
อาณาจักรสุโขทัย (พุทธศักราช 1781-1981)
ระบบการปกครองและเสรีภาพ
ลักษณะการปกครอง
พ่อปกครองลูก
หลักการปกครองแบบครอบครัว
กษัตริย์เปรียบเสมือนพ่อของครอบครัวใหญ่ ซึ่งเรียกว่า พ่อขุน
มีความใกล้ชิดกัน
โครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม
เศรษฐกิจของอาณาจักรสุโขทัยเป็นเศรษฐกิจการเกษตร
ชนชั้นปกครอง กษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการ พระภิกษุสงฆ์
ชนชั้นที่ถูกปกครอง สามัญชนหรือไพร่ และทาส
อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา (พุทธศักราช 1893 – 2310) 417 ปี
ปัจจัยที่ทำให้กรุงศรีอยุธยาเรืองอำนาจ
ตั้งอยู่ใกล้เมืองท่าชายฝั่งทะเล ทำให้การค้าสะดวก
มีแม่น้ำไหลผ่าน ทำให้การปลูกข้าวเป็นไปได้ดี
การที่จักรวรรดิเขมรและอาณาจักรสุโขทัยตกต่ำลง
โครงสร้างเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
การปกครองลัทธิเทวสิทธิ์และมโนทัศน์ธรรมราชาจากสุโขทัย
ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้นมีความห่างไกลกัน ข้าราชบริพารทำหน้าที่เป็นสื่อกลางระหว่างกษัตริย์และประชาชน
ระบบเจ้าขุนมูลนาย หรือศักดินา
พระเจ้าตากสินโดยการช่วยเหลือของ สมเด็จเจ้าพระยามมหากษัตริย์ศึก เจ้าพระยาสุรสีห์ สามารถผลึกรัฐไทยขึ้นเป็นเอกภาพอีกครั้งกรุงธนบุรีเป็นราชธานี
อาณาจักรธนบุรี (พุทธศักราช 2310 – 2325)
มีการสักไพร่ เพื่อจัดระเบียบชาติไทยไทยขึ้นใหม่
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
รัชกาลที่ 1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
ป้องกันราชอาณาจักร
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงสถาปนากรุงเทพมหานคร (หรือกรุงรัตนโกสินทร์) เป็นราชธานี นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงมีพระปรีชาสามารถอย่างยิ่งในการป้องกันราชอาณาจักรด้วยการทำสงครามรบกับพม่าถึง 7 ครั้ง รวมถึงทรงฟื้นฟูวัฒนธรรมไทยอันเป็นมรดกตกทอดมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยและอยุธยา
ฟื้นฟูสถาบันกษัตริย์: มีการจัดองค์กรทางสังคม ระบบศักดินา และสังกัดเลกไพร่
ด้านศาสนา: มีการสังคายนาพระไตรปิฎก
ด้านเศรษฐกิจ: การค้ากับจีนขยายตัว
การสร้างเมืองราชธานี
รัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระปรีชาสามารถด้านศิลปกรรมมรดกศิลปวัฒนธรรมส่วนหนึ่งของประเทศไทยในปัจจุบัน ถือได้ว่าเป็นมรดกจากยุคทองของวรรณคดีในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระองค์ทรงมีพระปรีชาสามารถด้านศิลปกรรมอย่างยิ่งในการนบทละครเก่ามาทรงแต่งใหม่ เช่น รามเกียรติ์ อุณรุท และอิเหนา รวมถึงยังทรงพระราชนิพนธ์บทพากย์โขนอีกหลายชุดด้วย
เศรษฐกิจเงินตราและการค้าขยายตัว
ธุรกิจการค้าของราชสำนักขาดทุน ขณะที่การค้าส่วนพระองค์ทำกำไรอย่างงาม
รัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงถือได้ว่าเป็นพระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย ด้วยพระอัจฉริยภาพในด้านดาราศาสตร์และวิทยาศาสตร์ โดยพระองค์ทรงคำนวณการเกิดสุริยุปราคาเต็มดวงได้อย่างแม่นยำ นอกจากนี้ พระองค์ยังได้รับการยกย่องเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ของสมาคมสัตววิทยาแห่งสหราชอาณาจักรอีกด้วย
นโยบายเปิดประตู – สนธิสัญญา พุทธศักราช 2398 (สนธิสัญญาเบาว์ริง)หากต้องการรักษาเอกราชของสยามเอาไว้ จำเป็นต้อง “เปิดประเทศ” และทำให้ทันสมัย
รัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
การปฏิรูปในสมัยรัชกาลที่ 6:
ทรงพยายามทดลองการปกครองแบบประชาธิปไตยในระดับเริ่มต้น
มีเสรีภาพทางด้านความคิด
บรรยากาศการเมืองภายนอกส่งผลต่อความคิดของคนไทย
สร้างความรู้สึกเริ่งชาติ
เกิดกบฏ เพื่อทำการเปลี่ยนแปลง แต่ไม่ประสบความสำเร็จ
ประเทศสยามเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
พระองค์ทรงให้ความสำคัญในการจัดการศึกษา และได้ทรงก่อตั้งโรงเรียนและมหาวิทยาลัยที่ยังคงเป็นรากฐานสำคัญของประเทศไทยมาจนถึงปัจจุบัน ได้แก่:
โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย ซึ่งในอดีตเคยเป็นโรงเรียนมหาดเล็กหลวง
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ก่อตั้งโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งต่อมาได้ขนานนามว่า "จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" มหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทย
การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พุทธศักราช 2475 – รัฐประหาร พุทธศักราช 2557
หลังจากคณะราษฎรทำการเปลี่ยนแปลงจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชไปสู่การปกครองแบบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ
ในช่วงต่อมา การเมืองไทยยังคงมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง รวมถึงเหตุการณ์สำคัญ เช่น การรัฐประหารในปี พุทธศักราช 2557
รัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อ พุทธศักราช 2411 ขณะพระชนมายุ 15 พรรษา
การสร้างรัฐชาติแบบใหม่: การรวมศูนย์อำนาจให้กับรัฐบาลกลางและการสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของคนในรัฐชาติ
ยกเลิกระบบกินเมืองการปกครองแบบเทศาภิบาล
มีกองทัพแบบทันสมัย โดยการเกณฑ์ทหาร
การมีกระทรวงพระคลัง และระบบการเก็บภาษีที่มีหอรัษฎากรพิพัฒน์
การปฏิรูปการศึกษา โดยการจัดหลักสูตรให้เป็นแนวเดียวกันทั่วประเทศ ใช้ภาษากลางคือ ภาษากรุงเทพ
การพัฒนาให้เกิดความทันสมัยในด้านต่างๆ เพื่อให้สยามเป็นสังคมสมัยใหม่
การปฏิรูปสังคม การเลิกทาสและเลิกระบบไพร่
การเลิกทาส: ใช้เวลานานถึง 3 ทศวรรษ
การเลิกระบบไพร่: เป็นการปล่อยให้คนไทยได้รับเสรีภาพ ไม่ถูกเกณฑ์แรงงาน สามารถประกอบกิจการที่มีผลผลิตในทางเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นการวางรากฐานของระบอบประชาธิปไตย
รัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
มีการใช้ระบบราชการเป็นกลไกในการเก็บภาษี โดยใช้ระบบเจ้าภาษีนายอากร
ยุบเลิกการค้าของหลวงและเริ่มเก็บภาษี (38 ชนิด)
หนังสือจินดามณีเล่มที่สอง
ความรู้บนฝาผนังวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเห็นความสำคัญของการศึกษาเป็นอย่างมาก และโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท แต่งหนังสือจินดามณีเป็นเล่มที่สอง ซึ่งถือว่าเป็นแบบเรียนภาษาไทยที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง นอกจากนี้ หากใครได้ไปวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร ก็จะเห็นได้ว่าตามผนังต่างๆ มีความรู้มากมาย เนื่องจากพระองค์ทรงโปรดให้ผู้เชี่ยวชาญในด้านต่างๆ นำความรู้มาสลักไว้เพื่อเผยแพร่ความรู้แก่คนทั่วไป
รัชกาลที่ 9 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ทรงมีพระราชกรณียกิจอันยิ่งใหญ่ตลอดการครองราชย์กว่า 70 ปี โดยทรงริเริ่มโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริกว่า 4,810 โครงการ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชน เช่น โครงการฝนหลวงและโครงการแก้มลิง นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงพระราชทานแนวคิด “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตอย่างพอดีและมีความสุข
พระราชลัญจกรประจำรัชกาลที่ 9 เป็นรูปพระที่นั่งอัฐทิศอุทุมพรราชอาสน์ ประกอบด้วยวงจักรที่มีอักขระ "อุ" หรือ "เลข 9" และเศวตฉัตร 7 ชั้น สื่อถึงพระบรมเดชานุภาพในแผ่นดิน ตรานี้ใช้ในเอกสารส่วนพระองค์และพระราชทานให้กลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและมหาวิทยาลัยราชภัฏเป็นตราประจำมหาวิทยาลัย
พระราชทานนาม “ราชภัฏ” ซึ่งหมายถึง “คนของพระราชา”
รัชกาลที่ 10 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงสนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนยากไร้ที่มีความประพฤติดี และทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเพื่อรักษาผู้ป่วยในพื้นที่ห่างไกล
เสด็จพระราชทานปริญญาบัตรแก่ชาวราชภัฏทั่วประเทศมาอย่างยาวนานกว่า 40 ปี ครั้งล่าสุดเป็นครั้งที่มีบัณฑิตที่ได้รับพระราชทานปริญญาจากพระหัตถ์จำนวน 2,360,387 คน
รัชกาลที่ 8 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล
การยุติความขัดแย้ง: พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลทรงเสด็จพระราชดำเนินไปยังสะแกงในปี พุทธศักราช 2489 เพื่อยุติความขัดแย้งระหว่างชาวไทยและชาวไทยเชื้อสายจีน
การผลิตแพทย์: พระองค์ทรงมีพระราชปรารภให้เพิ่มการผลิตแพทย์ โดยจัดตั้งโรงเรียนแพทย์แห่งที่ 2 ซึ่งปัจจุบันคือ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รัชกาลที่ 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 7) ทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พุทธศักราช 2475 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญถาวรฉบับแรกของไทย การเปลี่ยนแปลงนี้จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชไปสู่ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญถือเป็นพระคุณอันล้นพ้นที่ทำให้ประเทศไทยมีการปกครองแบบประชาธิปไตยจนถึงปัจจุบัน