Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน้าที่ชาวพุทธ - Coggle Diagram
หน้าที่ชาวพุทธ
มารยาทชาวพุทธ
การปฏิสันถารที่เหมาะสมต่อพระภิกษุ
1.การลุกตอนรับ
-ถ้านั่งเก้าอี้ให้ยืนขึ้น เมื่อท่านเดินผ่านและยกมือไหว้
-ถ้านั่งพื้นไม่ต้องยืนรับ พื้นยกมือไหว้หรือกราบ
2.การให้ที่นั่งพระสงฆ์
-ถ้าสถานที่นั้นมีเก้าอี้ หรือให้พระสงฆ์นั่งหน้า
-ถ้าจำเป็นต้องนั่งแถวเดียวกับพระสงฆ์ นั่งเก้าอี้ด้านซ้ายท่านเสมอ
-เข้าสถานที่ชุมนุมนั่งกับพื้น ให้พระสงฆ์นั่งต่างหาก
3.การรับรอง
-เมื่อท่านถึงบ้าน/สถานที่แล้ว รับรองงานด้วยศัยไมตรี
อันดี และยิ้มแย้ม
-ถวายของรับรอง น้ำดื่ม น้ำชา
-นั่งสนทนากับท่านด้วยความพอใจ ไม่ปล่อยให้ท่านนั่งอยู่คนเดียว
-ไม่นั่งตรงหน้า
-ไม่นั่งไกลนัก
-ไม่นั่งสูงกว่า
การตามส่งพระสงฆ์ ชาวพุทธควรลุกขึ้นและน้อมตัวลงยกมือไหว้เมื่อท่านเดินผ่าน (กรณีนั่งบนเก้าอี้) ถ้าอยู่กับพื้นให้กราบหรือยกมือไหว้ สำหรับเจ้าภาพควรเดินตามและส่งท่านจนพ้นบริเวณงาน และน้อมตัวลงยกมือไหว้แสดงความเคารพ
-
๑. ยกมือที่ประนมขึ้นจดหน้าผาก
๒. ให้ปลายหัวแม่มือจดระหว่างคิ้ว ค้อม ศีรษะลงให้ปลายนิ้วชี้จดตีนผม แนบมือ ค้อมตัวให้มากให้ชิดหน้าผาก
๓. ผู้ชาย ให้ยืนส้นเท้าชิด ปลายเท้าแยกเล็ก น้อย ผู้หญิงก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า เพื่อยัน พื้นกันล้ม ย่อตัวค้อมศีรษะลงไหว้ ไหว้ตรงๆ ไม่เอียงซ้ายหรือขวา
-
๑. ยกมือที่ประนมขึ้นจดส่วนกลางของหน้า
๒. ให้ปลายนิ้วหัวแม่มือจดปลายจมูก ค้อม ศีรษะให้ปลายนิ้วชี้จดระหว่างคิ้ว ๓. ผู้ชายให้ยืนต้นเท้าชิด ปลายเท้าแยกเล็ก น้อย ต้อมแต่ส่วนไหล่และศีรษะ ผู้หญิง ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้าย่อตัวลงไหว้ ค้อม ศีรษะต่ำรับปลายนิ้ว
•การไหว้ผู้ใหญ่ ยกมือที่ประนมจดส่วนล่างของหน้า ให้ ปลายหัวแม่มือจดปลายคาง ให้นิ้วชี้จดจมูก ส่วนบน ก้มศีรษะรับปลายมือให้พองาม
-
หน้าที่ชาวพุทธโดยทั่วไป คือให้ความสนใจศึกษาค้นคว้าหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและน้อมนำหลักธรรมที่ได้ศึกษาแล้วมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมแก่ฐานะของตนรวมทั้งการนำบุญบำเพ็ญกุศล เข้าร่วมพิธีกรรมทางศาสนาในโอกาสสำคัญต่างๆ
หน้าที่ชาวพุทธในด้านการอุปถัมภ์พระพุทธศาสนาได้แก่ การอุปถัมภ์พระภิกษุสามเณรให้มีกำลังในการปฏิบัติศาสนากิจช่วยทำนุบำรุงวัดและศาสนาสถาน
หน้าที่ชาวพุทธในด้านการปฏิบัติตนได้แก่การดำรงตนอยู่ในกรอบของศีลธรรมอันดีงามปฏิบัติตามฎกหมายไม่ละเมิดกฎระเบียบและกติกาของสังคม
หน้าที่ชาวพุทธด้านการปกป้องคุ้มครองพระพุทธศาสนาคือไม่นิ่งดูดายเมื่อมีวิกฤตการณ์เกิดขึ้นกับพระพุทธศาสนา
ภิกษุ-สามเณร
ปฏิบัติตามหลัก ไตรสิกขา
-ศีล รักษาพระธรรมวินัย
-สมาธิ จิตใจสงบ ขัดเกลาจิตใจ
-ปัญญา เพิ่มพูนศักยภาพทางความคิด
1.พระนักเทศน์ ปริยัติธรรม
-ธรรมมาสต์เดียว
-ปุจฉา-วิสัชนา
-ทำนองสรภัญญะ
2.พระธรรมทูตเผยแพร่ศาสนา
-ในประเทศ,ต่างประเทศ
3.พระธรรมจาริก เผยแพร่ธรรมโดยทุดง
-เดินทุดง
-ถิ่นทุรกัณดร
-เดินทางไปปฏิบัตศาสนกิจ
- พระวิทยากร พระอาจารย์
-สอนในสถานศึกษา
-
-
ยึดหลัก อุบาสกรรม 7
-ไม่ขาดก เยี่ยมเยียนพระภิกษุ
-ไม่สะเลยก.ฟังธรรม
-ศึกษาในอิทธิศีล
-เสื่อมใสในพระภิกษุทั้งหลาย
-ไม่ฟังธรรด้วยตั้งใจจะคอยเพ่งโทษติเตียน
-ไม่แสวงหาทักขิไณยภายนอกหลักคำสอน
-บวนขวายในการบำรุงพระพุทธศาสนา
การปฏิบัติตนตามหลักทิศเบื้องล่างใน 6 ทิศ
- ทิศเบื้องหน้า บิดา มารดา
-ทิศเบื้องบท ครูบาอาจารย์
-ทิศเบื้องหลัง สามี/ภรรยา บุตร
-ทิศเบื้องซ้าย มิตรสหาย
-ทิศเบื้องล่าง บริวาร
-ทิศเบื้องบน ภิกษุ สามเณร