Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ - Coggle Diagram
หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ
มารยาทชาวพุทธ
การแสดงความเคารพต่อพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัย หมายถึง พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์
วืธีแสดงความเคารพพระรัตนตรัย คือ การกราบด้วยมีวิธีเบญจางคประดิษฐ์ ด้วยการให้อวัยวะทั้ง 5 ส่วน จดกับพื้น คือ มือ 2 เข่า 2 หน้าผาก1
ขั้นตอนการกราบพระรัตนตรัยมีดังนี้ ท่าเตรียม
ชาย ที่นั่งเทพบุตรพื้นห่างกันพอควร ปลายเท้าตั้งชิดกัน นั่งทับสันเท้า
จังหวะที่1 อัญชลี
จังหวะที่2 วันทา
จังหวะที่3 อภิวาท
ท่านั่งปกติ
หญิง นั่งท่าเทพธิดา เข่ายันพื้นในลักษณะชิดกัน ปลายเท้าราบไปกับพื้น หงายฝ่าเท้านั่งทับสันเท้า
การไหว้
2.1การไหว้พระสงฆ์(ขณะยืน)
1)ยกมือที่ประนมขึ้นจดหน้าผาก
2)ให้ปลายหัวแม่มือจดระหว่างคิ้ว ค้อมศีรษะลงให้ปลายนิ้วขี้จดตีนผมแนบมือให้ชิดหน้าผากค้อมตัวให้มาก
3)ผู้ชายให้ยืนส้นเท้าชิด ปลายเท้าแยกเล็กน้อย ผู้หญิงก้าวท้ายขวาไปข้างหน้าเพื่อยันพื้นกันล้ม ย่อตัวค้อมศีรษะลงไหว้ไหว้ตรงๆไม่เอียงซ้ายหรือขวา
2.2การไหว้บิดามารดา(ขณะยืน)
1)ยกมือที่ประนมขึ้นจดส่วนกลางหน้า
2)ให้ปลายนิ้วหัวแม่มือจดปลายจมูก
3)ผู้ชายเท้ายืนเท้าชิด ผู้หญิงก้าวเท้าขวาไปข้างหน้าย่อตัวลงไหว้
2.3การไหว้ผู้ใหญ่
ยกมือที่ประนมจดส่วนล่างของหน้า ให้ปลายหัวแม่มือจดปลายคางให้นิ้วชี้จดจมูกส่วนบนก้มศีรษะรับปลายมือให้พองาม
2.4การรับไหว้
ยกมือทั้งสองมาประนมกันไว้ที่อกแล้วค้อมศีรษะให้ผู้ไหว้เล็กน้อย
หน้าที่ชาวพุทธ
การบรรพชาและอุปสมบทในพระพุทธศาสนา
การบรรพชา แปลว่า การเว้นจากความชั่วทุกอย่าง เดิมคำว่า บรรพชา หมายความว่า การบวชเป็นภิกษุ
อุปสมบท แปลว่า การเข้าถึงสภาวะอันสูง หมายถึงการบวชเป็นภิกษุ
ประเภทของการบรรพชาและอุปสมบท
1.เอหิภิกขุอุปสัมปทา การบวชที่พระพุทธเจ้าประทานให้
2.ติสรณคมนูปสัมปทา การบวชด้วยวิธีที่พระพุทธเจเาทรงอนุญาต
3.โอวาทปฎิคคหณูปสัมปทา การบวชด้วยการรับโอวาท
4.ปัญหาพยากรณูสัมปทา การบวชด้วยการตอบปัญหาของพระพุทธเจ้า
5.ครุธรรมปฎิคคหณูปสัมปทา การบวชด้วยการรับครุธรรม8 ประการ
1 more item...
การศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ และธรรมศึกษา
โรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ในประเทศไทย เริ่มมาจากแนวคิดของพระพิมลธรรม
(ราจ อาสกมหาเถร) องค์สภานายกมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย หลังจากได้เดินทางไปดูงาน ด้านพระพุทรศาสนาที่ประเทศพม่าและศรีลังกา ได้พบเห็นการสอนพระพุทรศาสนาในวันอาทิตย์ ในประเทศนั้นๆ และเห็นว่ามีผลดีมาก เมื่อเดินทางกลับมาประเทศไทย จึงได้นำแนวคิดดังกล่าวมา หารือร่วมกับผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนิสิตของมหาวิทยาลัง
วัตถุประสงค์ของโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์
1.เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ทางด้านพระพุทธศาสนา
เพื่อส่งเสริมความรู้ และปลูกฝังศีลธรรม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม ให้กับเด็กและเยาวชน
เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้ใกล้ชิดกับพระภิกษุและสามเณร
1 more item...
การบวชเป็นชี ธรรมจาริณี หรือเนกขัมมนารี
วิธีการบวช
1.ผู้ขอบวชต้องแต่งกายชุดขาว พร้อมสไบขาว
2.ตัวแทนผู้ขอบวชถวายธูปเทียนแพแด่พระสงฆ์จำนวน 1 รูป หรือ 4 รูปขึ้นไป
3.กราบ 3 ครั้ง
4.กล่าวคำบูชาพระรัตนตรัย
5.กล่าวคำอาราธนาศีล 8
1 more item...
ธรรมจาริณี หรือ เนกขัมมนารี หมายถึง สตรีนุ่งขาวห่มขาว ไม่โกนผม ไม่โกนคิ้ว สมาทานและรักษาศีล8
ชี หมายถึง สตรี นุ่งขาวห่มขาว โกนผม โกนคิ้ว สมาทานและรักษาศีล8
ประโยชน์ของการบวช
1.เพื่อฝึกฝนอบรม
2.เพื่อเพิ่มพูนบุญกุศลให้ยิ่งๆ ขึ้นไป
1 more item...
ธรรมศึกษา
ถวามศึกษา คือ การจัดการศึกษาพระพุทธศาสนาล้างกับคอยดีเดย์ ถ้วนในครั้งนะวะร้าน พ.ศ. ๒๔๙๒ แบ่งการเรียนเป็น ๓ ระดับ คือ โดยผู้ศึกษาหลักสูตรธรรมศึกษาจเป็นแต่ละชิ้น จะได้รับใบประกาศนียбебетобладна
วัตถุประสงค์ของการจัดธรรมศึกษา
เพื่อเปิดโอกาสให้พุทธศาสนิกชนที่เป็นคฤหัสถ์มีโอกาสศึกษาพุทธประวัติ ประวัติพุทธสาวก พระธรรม พระวินัย พุทธศาสนสุภาษิต ศาสนพิธีอย่างถูกต้อง
เพื่อให้คฤหัสถ์สามารถนำหลักธรรมมาประยุกต์ในการดำเนินชีวิต
เพื่อความมั่นคงและแพร่หลายยิ่งๆ ขึ้นไปของพระพุทธศาสนา
4.เพื่อสร้างสังคมคุณภาพ รวมทั้งพัฒนาพระสงฆ์ให้มีความสามารถในการเผยแผ่หลักธรรม
การปลูกจิตสำนึกและการมีส่วนร่วมในสังคมพุทธ
สังคม หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสมาชิก ต้องมีการปฏิสัมพันธ์กัน และมีหน้าที่สร้าง สมาชิกใหม่ ถ่ายทอดลักษณะของสังคม ประเพณี ความเชื่อ เพื่อสืบทอดให้สังคมนั้นๆ ดำรงต่อไป
ถ่ายทอดลักษณะของสังคม ประเพณี ความเชื่อ เพื่อสืบทอดให้สังคมนั้นๆ ดำรงต่อไป สังคมพุทธ หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสมาชิก ซึ่งประกอบด้วยพุทธบริษัท ๔ ได้แก่ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก และอุบาสิกา แม้ว่าในปัจจุบันสังคมพุทธในประเทศไทย (สายเถรวาท) ภิกษุณี ได้สูญไปแล้ว แต่ในสังคมพุทธที่นับถือพระพุทธศาสนาสายอื่น อาจยังคงมีภิกษุณีอยู่ อาจกล่าวได้ว่า สังคมพุทธ ประกอบด้วยบุคคล ๒ ประเภท คือ
ประเภทแรก ได้แก่ พระภิกษุ
ประเภทสอง ได้แก่ คฤหัสถ์ หรือชาวบ้าน
ศึกษาคำสอน และปฏิบัติตามคำสอน
รรมะ จึง สังคมพุทธเน้นการศึกษาและปฏิบัติตามคำสอนของพระพุทธเจ้า เมื่อเรียนรู้และเข้าใจ
ต้องปฏิบัติอย่างถูกต้อง ตัวอย่างเช่น
เมื่อเรียนรู้กฎแห่งกรรม ก็จะต้องละกรรมชั่วทำแต่กรรมดี
เมื่อเรียนเรื่องมงคลชีวิต ก็จะต้องปฏิบัติตนให้เป็นมงคลอย่างมีสติ
เมื่อเรียนเรื่องความเชื่อที่ต้องมีปัญญากำกับ ก็จะต้องปฏิบัติตนให้เชื่ออย่างมีเหตุผล โดยใช้ปัญญาพิจารณา
เมื่อเรียนเรื่องความหลุดพ้นจากกิเลส (วิมุตติ) ก็จะต้องปฏิบัติตนให้เป็นผู้หลุดพ้นตาม แนวคำสอนทางพระพุทธศาสนา
1 more item...
การเข้าค่ายพุทธธรรม
ค่ายพุทธธรรม คือ ค่ายที่จัดขึ้นเพื่อฝึกอบรมส่งเสริมคุณธรรมให้กับนักเรียน เพื่อให้มีโอกาล เรียนรู้และฝึกปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี เป็นพลเมืองดีของสังคม
ประโยชน์ของการเข้าค่ายพุทธธรรม
ปลูกฝังนิสัยที่ดีงามตามหลักพระพุทธศาสนา
รู้จักการอยู่ร่วมกันในสังคม
เรียนรู้หลักธรรมและปฏิบัติตามหลักธรรมคำสอน
ได้ฝึกอบรมจิต ฝึกใช้ชีวิตครองตนถือเพศพรหมจรรย์
1 more item...