Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบประสาท ระบบต่อมไร้ท่อ ที่มีผลต่อสุขภาพและการเจริญเติบโต…
ระบบประสาท ระบบต่อมไร้ท่อ
ที่มีผลต่อสุขภาพและการเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุ่น
ระบบประสาท
(Nervous System)
อวัยวะที่เกี่ยวข้อง
ระบบประสาทส่วนกลาง
(Central Nervous System)
สมอง (Brain)
สมองส่วนหน้า
เซรีบรัม : ควบคุมการทำงานต่าง ๆ ของร่างกาย
เช่น การพูด ความคิด ความจำ การได้ยิน
ทาลามัส : ถ่ายทอดสัญญาณไปยังสมองส่วนต่าง ๆ
ไฮโพทาลามัส : ศูนย์กลางของระบบประสาทอัตโนมัติและสร้างฮอร์โมนเพื่อควบคุมการผลิตฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง
สมองส่วนกลาง
ทำหน้าที่เกี่ยวกับการมองเห็น
การได้ยิน การสัมผัส
สมองส่วนท้าย
เซรีเบลลัม : ควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อให้ทำงานประสานกัน
เมดัลลา ออบลองกาตา : ควบคุมการทำงานของอวัยวะภายใน เช่น การไอ สำลัก การไหลเวียนเลือด หายใจ อาเจียน
พอนส์ : ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อใบหน้า เช่น ยิ้ม หลับตา หลั่งน้ำลาย
ไขสันหลัง
(Spinal Cord)
เป็นศูนย์กลางการเคลื่อนไหวต่าง ๆ ของร่างกาย เชื่อมต่อระหว่างอวัยวะรับ
ความรู้สึกไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
ระบบประสาทส่วนปลาย
(Peripheral Nervous System)
ส่วนสั่งการ (Motor)
เส้นประสาทสมอง (มี 12 คู่)
เส้นประสาทไขสันหลัง (มี 31 คู่)
ระบบประสาทอัตโนมัติ
ระบบประสาทซิมพาเทติก : มีการทำงานแบบเกิดขึ้นทันที เช่น ขณะตื่นเต้น
ประสบภาวะฉุกเฉิน ทำให้รูม่านตาขยาย
หัวใจเต้นเร็ว ขนลุก
ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก : ช่วยให้ร่างกายสงบอยู่ในสภาวะการพักผ่อน
เช่น หัวใจเต้นช้าลง รูม่านตาแคบลง
ส่วนที่รับความรู้สึก (Sensory)
ระบบประสาทที่มีผลต่อสุขภาพและพัฒนาการของวัยรุ่น
สุขภาพกาย
ควบคุมการทำงานของอวัยวะภายในร่างกาย
ควบคุมการเจริญเติบโตให้สมวัย
สุขภาพร่างกายแข็งแรง
สุขภาพจิตใจ อารมณ์
ควบคุมสภาวะภายในร่างกายให้สมดุล
เช่น อารมณ์ ความอ่อนไหว จิตใจ
สุขภาพด้านสติปัญญา
พัฒนาความคิด สติปัญญา จริยธรรมให้เหมาะสมกับวัย
การดูแลรักษาให้ทำงานตามปกติ
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหาร
ที่มีไขมันสูง
หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ และระมัดระวังการบาดเจ็บของสมองและไขสันหลัง
ควรพบแพทย์ทันที หากได้รับการบาดเจ็บหรือเกิดความผิดปกติเกี่ยวกับ
ระบบประสาทและไขสันหลัง
ระบบต่อมไร้ท่อ
(Endocrine System)
โครงสร้างและหน้าที่
ต่อมใต้สมองหรือต่อมพิทูอิทารี (Pituitary Gland)
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (Anterior pituitary)
Growth Hormone : ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกายเป็นปกติ
หากผลิตมากเกินไป - ทำให้ร่างกายสูงใหญ่ผิดปกติ
ผลิตน้อยเกินไป - ทำให้ร่างกายเตี้ย แคระแกร็น
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (Posterior pituitary)
Oxytocin : กระตุ้นการหลั่งน้ำนม
Vasopressin : ควบคุมปริมาณน้ำในร่างกาย ช่วยเพิ่มความดันโลหิต
ต่อมไทรอยด์ (Thyroid Gland)
Calcitonin : ควบคุมปริมาณแคลเซียมในเลือด
Thyroxin : ควบคุมกระบวนการเผาผลาญ
สารอาหารในร่างกาย
อยู่ด้านข้างส่วนบนของหลอดลมตรงลำคอบริเวณลูกกระเดือก
ต่อมพาราไทรอยด์
(Parathyroid Gland)
Parathyroid Hormone : ควบคุมระดับแคลเซียม และฟอสเฟตในกระแสเลือด
อยู่ด้านหลังต่อมไทรอยด์
ต่อมหมวกไต (Adrenal Gland)
อยู่ด้านบนของไตทั้ง 2 ข้าง
ต่อมหมวกไตส่วนนอก
Glucocorticoid : ควบคุมเมแทบอลิซึม การเผาผลาญในร่างกาย
Mineralocorticoid : ควบคุมสมดุลน้ำและเกลือแร่ให้สมดุล
ต่อมหมวกไตส่วนใน
Adrenalin : ผลมาจากการถูกกระตุ้น เช่น ตกใจ ตื่นเต้น
Norepinephrin : ผลทำให้หลอดเลือดหดและบีบตัว
ต่อมไพเนียล (Pineal Gland)
Melatonin : ยับยั้งการเจริญเติบโตของต่อมเพศก่อนวัยหนุ่มสาว
ต่อมไทมัส
(Thymus Gland)
Thymosin : กระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดขาวชนิด T-lymphocyce
อยู่ด้านหน้าทรวงอก
ตับอ่อน (Pancreas)
ต่อมมีท่อ
สร้างน้ำย่อยเพื่อใช้ย่อยอาหาร
ต่อมไร้ท่อ
ผลิตฮอร์โมนที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด Glucagon,Insulin
ต่อมเพศ (Gonad)
เพศชาย : อัณฑะ (Testic)
Testosterone : เกิดการเปลี่ยนแปลงของเพศชายในช่วงวัยรุ่น
เพศหญิง : รังไข่ (Ovary)
สร้างไข่ และ Estrogen, Progesterone : ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของเพซหญิงในช่วงวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อ
ที่มีผลต่อสุขภาพและพัฒนาการของวัยรุ่น
กระตุ้นการใช้สารอาหารและผลิตพลังงานภายในร่างกายเพื่อการเจริญเติบโต
กระตุ้นการเจริญเติบโต
การดูแลรักษาให้ทำงานตามปกติ
เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ดื่มน้ำให้เพียงพอ
ออกกำลังกายให้สม่ำเสมอ
นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
หากเกิดอาการผิดปกติ
ให้รีบพบแพทย์ด่วน
ความสัมพันธ์ของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
ทางตรง
ระบบประสาทควบคุมการหลั่งฮอร์โมนทันทีเมื่อถูกกระตุ้น เช่น ส่วนหลังของต่อมใต้สมองและส่วนในของต่อมหมวกไต
ทางอ้อม
สร้างสารจากเซลล์ประสาทในสมองบางส่วนส่งมาเก็บไว้ที่เส้นใยประสาทแล้วปล่อยเข้าสู่กระแสโลหิต เพื่อควบคุมการ
หลั่งฮอร์โมนของต่อมไร้ท่อ