Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาระบบไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
พยาธิสรีรวิทยาระบบไหลเวียนโลหิต
การกระจายตัวของน้ำในร่างกาย
(Distribution of total body fluid)
น้ำในร่างกายมนุษย์ ในร่างกายผู้ใหญ่มีน้ำ
ประมาณร้อยละ60ของน้ำหนักตัว
ร้อยละ40อยู่ภายในเซลล์
เรียกว่า(Intracellular fluid;ICF)
ร้อยละ20อยู่ภายนอกเซลล์
เรียกว่า(Extracellular fluid;ECF)
น้ำภายในหลอดเลือด(Intravascular fluidหรือplasma)
น้ำในเนื้อเยื่อระหว่างเซลล์(Interstitial fluid)
การควบคุมสมดุลน้ำ(Fluid homeostasis)
กลไกที่เกี่ยวข้อง
การขับของเหลว
การดูดซึมของเหลว
การแลกเปลี่ยนระหว่าง ICF และ ECF
ความผิดปกติที่ส่งผลต่อสมดุล
Edema:การสะสมของของเหลวในเนื้อเยื่อ(ภาวะบวมน้ำ)
Congestion:การคั่งของเลือด
Hemorrhage:การเสียเลือด
Shock:ภาวะช็อก
พยาธิสภาพของภาวะบวมน้ำ
ผลกระทบต่อกลไกการทำงานของอวัยวะ
ความเสี่ยงในการติดเชื้อ
การกระตุ้นการเกิดพังผืดจากของเหลวที่มีโปรตีนสูง
ของเหลวที่มีโปรตีนสูงอาจกระตุ้นการเกิดพังผืดในเนื้อเยื่อ
ของเหลวที่ขังอาจเป็นที่เจริญของแบคทีเรีย
การทำงานของอวัยวะถูกขัดขวาง
ส่งผลต่อการไหลเวียนของเลือด
ภาวะบวมน้ำ(Edema)
การสะสมของเหลวในช่องว่างระหว่างเซลล์และในช่องต่างๆ
สาเหตุ
Hydrostatic pressure ในหลอดเลือดเพิ่มขึ้น
Plasma oncotic pressure ในหลอดเลือดลดลง
Salt and water retention
มีกำรลดลงของกำรกรองโซเดียม
กำรคั่งของโซเดียมในท่อไต
จากโรคไต
การสูญเสีย vascular permeability
Lymphatic obstruction
การอุดตันของระบบน้ำเหลือง
เช่น การติดเชื้อปรสิต
เพิ่มการซึมผ่านของหลอดเลือด
จากการอักเสบ
เช่น โรคตับหรือภาวะขาดโปรตีน
เช่น ภาวะหัวใจล้มเหลว
ประเภทของ Edema
Pulmonary Edema: น้ำท่วมปอด
As cites:น้ำในช่องท้อง
Cerebral Edema: บวมน้ำในสมอง
Generalized Edema (Anasarca): บวมน้ำทั่วไป
สังเกตเห็นได้ชัดในเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง
ความดันในสมองเพิ่มขึ้น
อันตรายต่อชีวิต
สะสมในช่องท้อง
เกิดจากโรคตับ
ของเหลวสะสมในปอด
ส่งผลต่อการหายใจ
Fluid and Hemodynamic Disorders
(ความผิดปกติของการไหลเวียนโลหิตและของเหลว)
การกระจายของของเหลว
การรักษาสมดุลของของเหลว
ภาวะบวมน้ำ
การเปลี่ยนแปลงในการไหลเวียนเลือด
การเปลี่ยนแปลงในการไหลเวียนเลือด
Active Hyperemia (ภาวะเลือดไหลเวียนมากกว่าปกติ)
การขยายตัวของหลอดเลือดแดง
ส่งผลให้มีเลือดไหลเวียนมากขึ้นในเนื้อเยื่อ
เกี่ยวข้องกับการอักเสบ
ทำให้เนื้อเยื่อมีสีแดงและร้อน