Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบสาธาณสุขแผนพัฒนาสุขภาพและนวัตกรรมสุขภาพ, นางสาววชิรญาณ์ ศรีสุข…
ระบบสาธาณสุขแผนพัฒนาสุขภาพและนวัตกรรมสุขภาพ
กระทรวงสาธาณสุข
หน้าที่
การกำหนดนโยบายสาธารณสุขของประเทศ
การกำหนดแผนพัฒนาสาธารณสุขของประเทศ
การจัดสรรงบประมาณด้านการสาธาณสุขของประเทศ
จัดสรรกำลังคนด้านสาธารณสุข
การควบคุมกำกับงานด้านสาธารณสุขของประเทศ
ระบบบริการสาธารณสุข
ระดับ / ระบบส่งต่อ
การจัดการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ (Primary Medical Care : PMC) เกิดขึ้นตั้งแต่ยังไม่เกิดโรค ดังนั้นจำนวนผู้ป่วยรายใหม่ลดลงกว่าเดิม
การจัดบริการสุขภาพในระดับทุติยภูมิ (Secondary Medical Care : SMC) เป็นการตรวจวินิจฉัยให้ทราบตั้งแต่ในระยะเกิดโรคแล้ว แต่ยังไม่มีอาการ ผลของการป้องกันระดับนี้คือ ลดความชุกของโรคลง
การบริการสาธารณสุขมุลฐาน (Primary Health Care : PHC)
การดูแลสุขภาพด้วยตนเองในระดับครอบครัว (Self care level)
การจัดบริการสุขภาพระดับตติยภูมิ (Tertiary Medical care : TMC) เป็นการรักษาและฟื้นฟูสภาพผู้ป่วย เป็นการลดการตายหรือลดความพิการที่เกิดขึ้นลง
ระบบหลักประกันสุขภาพ
ประกันสังคม : เป็นหลักประกันสุขภาพที่จัดให้ลุกจ้างภาคเอกชน ซึ่งเงินสมทบมาจากทางรัฐ
กองทุนเงินทดแทน : กรณีเจ็บป่วยจากการทำงาน ไม่สามารถทำงานติดต่อกันได้เกิน 3 วัน
ประกันสังคม : รอบด้านทั้งบริการผู้ป่วยนอก/ใน ทันตกรรม ค่ายาเวชภัณฑ์ ค่าอาหารและห้องสามัญ ชดเชยกรณีคลอดบุตร ตาย พิการ
สวัสดิการข้าราชการ : ข้าราชการ และผู้ที่เกษียณอายุแล้ว พร้อมผู้ที่อยู่ในความอุปถัมภ์อันได้แก่ บิดา มารดา คู่สมรส และบุตร ไม่เกิน 3 คน (บุตอายุต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์) **บุตรบุญธรรมไม่สามารถใช้สิทธิจ่ายตรงได้
ระบบเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลจากต้นสังกัด / ใบส่งตัว
โครงการเบิกจ่ายตรง
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : เป็นสวัสดิการที่ทางรัฐจัดให้แก่ประชาชนไทยกลุ่มอื่นๆที่เหลือ ผู้ที่ควรช่วยเหลือเกื้อกูล และผู้ที่ไม่มีหลักประกันใดๆ
นวัตกรรมสุขภาพ
นวัตกรรมกระบวนการ (Process innovation) : เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการวางแผนการบริหารจัดการและขับเคลื่อนการกำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์
นวัตกรรมการบริการ (Service model innovation) : เป็นการพัฒนาเพื่อให้มีระบบบริการทางด้านสุขภาพที่ดีขึ้น เพื่อให้ผู้รับบริการได้ประโยชน์สูงสุด
นวัตกรรมผลผลิต (Product innovation) : เป็นการพัฒนาเครื่องมือ ชิ้นงานเพื่อตอบสนองความต้องการในการดูแลในระบบสุขภาพ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570)
หลักการและแนวคิด
แนวคิด Resilience
การพร้อมรับ (Cope)
การปรับตัว (Adapt)
dกสรเปลี่ยนแปลงเพื่อพร้อมเติมโตอย่างยั่งยืน (Transform)
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของสหประชาชาติ อยู่บนแนวคิด "ไม่ทิ้งใคร ไว้ข้างหลัง"
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตั้งอยู่บนหลัก 3 ห่วง 2 เงื่อนไข
โมเดลเศรษฐกิจ BCG
เศรษฐกิจชีวภาพ
เศรษฐกิจหมุนเวียน
เศรษฐกิจสีเขียว
นางสาววชิรญาณ์ ศรีสุข 651410048-7