Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ขั้นตอนกระบวนการออกแบบเชิงวิศกรรม13 ขั้นตอน - Coggle Diagram
ขั้นตอนกระบวนการออกแบบเชิงวิศกรรม13 ขั้นตอน
1.ระบุความต้องการ(Recognition of need and definition of problem)
เมื่อทราบความต้องการแล้ว จะสามารถระบุความต้องการและระบุปัญหาได้ เช่น ต้องการจะกวาดขยะทุกซอกทุกมุมแต่ไม้กวาดที่ใช้ไม่สามารถกวาดขยะได้ทุกซอกทุกมุม
2 ระบุลักษณะที่ต้องการ(specification)
เป็นความต้องการแก้ปัญหาเบื้องต้นว่า ลักษณะที่ต้องการนำไปใช้นัั้น เป็นลักษณะแบบใด ซึ่งขัั้นตอนนี้สามารถเปลี่ยนแปลงได้อีกหลสยครั้งหลังจากขั้นตอนออกแบบสร้างขั้นตอนออกแบบสร้างขั้นตอน เช่น เมื่อต้องการจะกวาดขยะทุกซอกทุกมุมทำความสะอาดพื้นได้ทุกซอกทุกมุม บนพื้นผิวชนิดแม้กระทั่งพื้นเปียกน้ำ
3 รวบรวมข้อมูล(Gathrring of information)
เป็นการหาข้อมูลที่เกี่ยวกับการใช้งาน รูปแบบ รายละเอียดที่มีความเกี่ยวข้องกับปกัญหาเพื่อหาวิธีทำความสะอาดตามซอกมุมว่าจะทำอย่างไร เช่น การใช้แรงเพื่อส่งผลให้ขยะที่อยู่ในซอกมุมต่างเคลื่อนที่ออกจากมุมนั้นๆจากกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน ได้แก่ เขี่ย เป่า การหาคำตอบ วิศกรจะหาจากคนอื่นที่ได้จดสิทธิบัตรไว้หรือเอาของคล้ายกันมาแกะออก เพื่อศึกษาหลัการทำงานของเทคโนโลยี โดยเรียกว่าReverse Engineering
4 ศึกษาความเป็นไปได้(Feasibility Study)
เป็นการนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เพื่อนำไปใช้แก้ปัญหา เพื่อตอบโจทย์การแก้ปัญหาได้ตรงตามความต้องการมากที่สุด เช่น กรณีการทำความสะอาดพื้นทุกซอกทุกมูม จะตัดเรื่องการเขี่ยออกไปเพราะทำแล้วพื้นไม่สะอาดเป็นไปได้มากกว่าวิธีอื่น(Technical Feasibility)
5 สังเคราะหาหลักการสร้างสรรค์ (coeative design synthesis)
เป็นการหาหลักการ(concept) หรือแนวทงแก้ปัญหา กรณีเป็นเครื่องดูดฝุ่น เราจะสร้งแรงดูดลมได้อย่างไรตัวกรองฝุ่นจะต้องมีความละเอียดละเท่าไร สามารถที่จะทำให้มีน้ำหนักเบาได้อย่างไร ในระหว่างการทำงานจะต้องมีเสียงเบาโดยการทำงานอย่างไร อุปกรณ์จะสามารถนำไปใช้ในซอกเล็กๆไ้อย่างไร รูปแบบภายนอกจะต้องเป็นอย่างไร จึงจะสามารถดูดผู้ซื้อได้
7 จำลองสภาพสถานการณ์(Simulatiuon)
เป้นการนำต้นมาจำลองการใช้งานจริง เช่น แรงดูดของเครื่องเพียงพอต่อการดูดขยะได้หรือไม่ ถุงเก็บขยะเมื่อดูดขยะเข้ามาในเครื่องจะทำให้เกิดการสะสมของฝุ่น แล้วเมื่อฝุ่นผงสะสมนั้น จะมีผลต่อแรงดูดของเครื่องอย่างไร เมื่อคำนวณราคาในการผลืตต้นแบบพบว่าต้นนวัตกรรมบางอย่างมีต้นทุนสูง วิศกรอาจจจะนำเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ เช่น ซอฟต์แวร์การผลิตทางวิศกรกรรมศาสตร์สามารถนำจำลองสถานการณืเบื้องต้นได้เพื่อลดต้นทุนในการผลิต
10 ประเมินผล(Evaluation)
หลังจากได้ทดสอบทุกอ่างและจดบันทึกแล้ว จึงนำผลได้จากการทดสอบเครื่องต้นแบบมาทำการประเมินเทียบกับสมรรถนะและคุณลักษณะที่ต้องการนำไปใช้แก้ปัญหา
11 ประชุมสรุปผล (Design Conclusion)
เป็นขั้นตอนที่สำคัญมาเพราะเป็นการตัดสินใจว่าเป็นวัตกรรมที่นำไปใช้ได้หรือไม่ เพราะถ้าไม่ผ่านจะต้องกลับไปทำการแก้ไขใหม่ตั้งแต่ขั้นตอนการออกแบบสร้างขั้นต้น ดังนั้น การตัดสินใจจากข้อมูลการประเมินผลในขั้นตอนที่10ซึ่งทุกฝ่ายจะพิจารนาร่วมกับอย่างรอบคอบ เพระหากผ่านขั้นตอนนี้ก็เป็นการผลิตระดับอุตสาหกรรมที่มีการลงทุนสูง
13 จำหน่ายผลิตภัณฑ์(product Release)
เป็นหน้าที่ของฝ่ายขายที่จะต้องนำสินค้าไปให้ถึงผู้ซื้อ และจะต้องมีข้อมูลของนวัตกรรมครบถ้วนเพื่อตอบลูกค้าหรือจุดประสงค์ของนวัตกรรมชิ้นนนั้นๆ
6 ออกแบบสร้างขั้นตอน(perliminare Design)
วิศกรนำเอาหลักมาออกแบบรูปร่างโดยมีเงื่อนไขจากกรสังเคราะห์เสร็จแล้ว และทำการสร้างชิ้นส่วนต้นแบบขึ้นมาเพื่อนำไปทดลองใช้ในขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ทำได้หลายขั้นตอนที่ทำได้หลายรอบแม้จะสร้างจนเสร็จแล้ว แต่ยังเป็นกระบวนการสำคัญในการพัฒนาต่อไป เช่น ชิ้นส่วนต่างๆอาจะยังเป็นชิ้นส่วนที่แยกชิ้นกันอยู่ แต่จะมีส่วนที่ใช้ในการดูดฝุ่ีนเป็นหัวใจสำคัญของยววัตตกรรม
8 ออกแบบละเอียด(Detalled Design)
วิศกรจำทำการออกแบบอย่างละเอียดทุกระบบเพื่อกระบวนการทำงานของนวัตกรรมได้อย่างมีสิทธิภาพโดยทุกส่วนจะมีการทำงานที่สัมพันธ์กัน ตั้งแต่หัวดูด ท่อดูด พัดลมดูด ถุงกรองฝุ่น ซึ่งทุกส่วนจะมีหน้าที่ที่แตกต่างกัน แต่ต้องจะสร้างออกมาแล้วสามารถเอาออกมาแล้วต่อุถึงกันได้
9 สร้างและทดสอบเครื่องต้นแบบ(protoep build and test)
เป็นขั้นตอนที่รวมข้อมูลทั้งหมดและการทำการสร้างจริงให้ครบถ้วนแล้วนำมาใช้งานได้จริง เช่นการสร้างเป็นรูปร่างเครื่องฝุ่นที่สมบรูณื แล้วทำการทดสอบการทำงานจริง และทำการเก็บข้อมูลระหว่างการใช้งานให้ครบถ้วนเพื่อนำไปประเมืนผลในการขั้นตอน
12 ออกแบบการผลิต (Design for production)
ขั้นตอนนี้วืศกรผู้ออกแบบจะต้องสื่อสารกับฝ่ายผลิต เพื่อให้ฝ่ายผลิตได้ตรงตามที่ออกแบบได้อย่างไรถูกต้อง โดยนำเอากรออกแบบระเอียดมาเแลี่ยนเป็นการออกแบบการผลิต(design for production)วึ่งชิ้นส่วนต่างๆจะต้องถูกกำหนดชนิดในการใช้วัสดุรวมถึงขั้นตตอนการประกอบ(design for assembly )และต้องสื่อสารคุณลักษณะทางเทคนิค(Technical Spescification)เพื่อต้องการใหฝ่ายโฆษนา และฝ่ายขายนำไปใช้ในการเผยแผ่คุณสมบัติเพื่อดึงดูดผู้ซ์็ฮได้ถูกต้อง